ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ปุจฉา ในการใช้ท่วงท่า เช่น รำมวยจีน อย่างเช่น ไท้เก็ก จัดเป็นสมาธิได้หรือไม่คะ  (อ่าน 5893 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
 ask1 จากเมล

ปุจฉา ในการใช้ท่วงท่า เช่น รำมวยจีน อย่างเช่น ไท้เก็ก จัดเป็นสมาธิได้หรือไม่คะ คือ ส่วนตัวมักจะไปรำมวยจีน กับเพื่อน ที่ ๆ สวนกันในตอนเช้า ตอนเย็นทุกวัน คะ ถ้าทำอย่างนี้เป้นสมาธิใช่หรือไม่ คะ และถ้าเป็นสมาธิ จะนำมาใช้ในการ รู้ธรรม วิปัสสนา ได้หรือไม่คะ


 
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ดูเหมือนคำถามจะง่าย ๆ แต่ ก็ใช่ว่าจะตอบให้เข้าใจ กันได้ง่าย นะครับ
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

นักเดินทาง

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 695
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ถ้าอย่างนั้น พระท่าน ก็ใช้ มวยจีน รำเป็น สมาธิ ก็ได้ใช่หรือไม่ครับ

  :smiley_confused1: :smiley_confused1: :smiley_confused1:
บันทึกการเข้า

colo

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 44
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เราว่า รำมวยจีน อย่างไร ก็ต้องมีสมาธิ ไม่มากก็น้อย แต่ จะกล่าวว่ามีสมาธิ ระดับไหน ก็ต้องว่ากันอีกที กล่าวว่าการเคลื่อนไหวนั้น มีสมาธิแค่ ระดับ ปฐมฌาน เท่านั้น จริงเท็จอย่างไร ก็รอท่านผู้รู้มาช่วยกัน ธรรมวิจยะ นะครับ

  :coffee2: st12
บันทึกการเข้า

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0

ไท่จี๋ วูซู สูอย่าเขลา

     มุนีโยคีแขก         ดัดตนแปลกมิฉงน
สงฆ์จีนลีลาค้น         พิสดารใช่ต่อยตี
     จิตกายไหวเป็นหนึ่ง   ปราณหยั่งถึงใคร่ครวญมี
รู้เห็นณานวิถี         ยากประจักษ์มวยประจาน.

                                                 ธรรมธวัช.!



http://thaimmaclub.com/wp-content/uploads/2011/04/%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%81.jpg
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 12, 2013, 01:21:29 pm โดย THAWATCHAI173 »
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

แพนด้า

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +3/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 248
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ผมว่าปัญหา น่าจะอยู่ที่ว่า พัฒนาสมาิธิ เพื่อการ รู้ตามพระสุคต มากกว่าครับ

   เพราะ สมาธิ มีสองแบบ คือ มิจฉาสมาธิ  และ สัมมาสมาธิ
 
     ถ้าจัดการรำมวย นั้นเป็นการฝึกสมาธิ ก็ต้องดูว่าเป็น มิจฉา หรือ สัมมา ครับ

   :s_good:
บันทึกการเข้า

wayu

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 162
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ask1

  แล้วท่าเรา รำไท้เก็ก แล้ว เราจะทำวิปัสสนา ไปด้วยทำอย่างไร ครับ มีใครพอจะทราบได้บ้างครับ

  thk56
บันทึกการเข้า

samathi

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 93
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ans1

  ผมว่า ในโลก มีคนฝึกวิชาไท้เก็ก มากกว่า คนฝึกสมาธิ นะครับ แต่ ไม่ใช่ฝีก ไท้เก็ก แล้วจะได้เป็น พระอริยะ คงเป็นได้แค่ เซียน นะครับ เพราะไท้เก็กนั้น เป็นวิชาของเต๋า ครับ จะจัดว่าวิชาเต๋า เข้าถึงแก่นธรรมของพระพุทธศาสนา และ บรรลุถึงนิพพานนั้นไม่ได้ ครับ เพราะในวิถีเต๋านั้น บำเพ็ญเพียงเสริมสร้างจิตแบบโพธิสัตว์ แต่ที่แน่ ๆ ในยุค พุทธันดร นี้ย่อมไม่มี พระพุทธเจ้า หลายองค์แน่ ๆ ขัดกับหลักคำสอน ว่า พุทธันดรหนึ่งนั้นมีพระพุทธเจ้า องค์เดียว เท่านั้นครับ ดังนั้น เชื่อได้เลยครับว่า หลักการ ไท้เก็ก นั้นไม่มี อริยสัจจะ 4 อย่างแน่นอนครับ และ ไม่อริยะมรรค มีองค์ 8 ด้วยเช่นกัน

  แต่หากว่าจะจัดเป็นสมาธิ แล้ว  ก็เป็นสมาธิในระดับหนึ่ง ซึ่งน่าจะถึงสมาธิระดับ อุปจาระสมาธิ ได้

  เพราะขั้นอัปปนาจิต นั้นไม่มีการเคลื่อนไหว นะครับ

   :welcome:
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28366
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0

อัปโหลดเมื่อ 27 พ.ย. 2010 โดย visalochannel


พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค
๙. มหาสติปัฏฐานสูตร (๒๒)

    [๒๗๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง
    ภิกษุเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่าเราเดิน เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่าเรายืน
    เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่าเรานั่ง เมื่อนอนก็รู้ชัดว่าเรานอน
    หรือ เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ

    ดังพรรณนามาฉะนี้
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรม คือ ความเกิดขึ้นในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่


    อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น
    เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
    ดูกรภิกษุทั้งหลายอย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่


    จบอิริยาปถบรรพ


อ้างอิง
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐  บรรทัดที่ ๖๒๕๗ - ๖๗๖๔.  หน้าที่  ๒๕๗ - ๒๗๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=6257&Z=6764&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273




อัปโหลดเมื่อ 4 ก.ค. 2011 โดย siamglassa

ในอิริยาบถบรรพนั้น ผมเห็นว่า มีคีย์เวิร์ดอยู่สามประโยค คือ
     "เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ"
     "สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น"
     "พิจารณาเห็นกายในกาย"


     ถ้าเราหากรำมวยจีนแล้ว "เห็นกายในกาย" นั่นหมายถึง เรากำลังเจริญสติปัฏฐานแล้ว
     ใครชอบรำมวยจีน ก็ลองทำดู ผมไม่ขออธิบายอะไรให้มากความ
     ความหมายของคำว่า "เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ"
     น่าจะอธิบายได้ระดับหนึ่งแล้ว

      :25:
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 17, 2013, 12:18:15 pm โดย nathaponson »
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ask1

"พิจารณาเห็นกายในกาย"

  ตรงนี้ น่าจะได้มีการขยายความ ให้เกิดความเข้าใจ เพิ่มขึ้นนะครับ เพราะการ "พิจารณาเห็นกายในกาย"  นั้นจะปรากฏด้วย สติ หรือ สมาธิ หรือ ทิฏฐิ หรือ เป็นผลจาก ยถาภูตญาณทัศนะ


 thk56


 
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา