ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ในการปฏิบัติ กรรมฐาน มีการกำหนดเวลาอย่างไร ในการเข้าออก  (อ่าน 5206 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

หมิว

  • ศิษย์ตรง
  • มีเหตุมีผล
  • *****
  • ผลบุญ: +3/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 398
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ในการปฏิบัติ กรรมฐาน มีการกำหนดเวลาอย่างไร ในการเข้าออก
คือสงสัย ว่าเวลาเราหลับตา ก็ไม่เห็นนาฬิกา แล้ว จะรู้เวลาขณะนั้นได้อย่างไร ว่าผ่านไป มากน้อย เท่าใด ในการภาวนา ในรอบ นั้น ๆ
 :smiley_confused1: :c017:
บันทึกการเข้า
ใจดี น่ารัก และ ไม่ชอบคนที่กวน...ใจ
แสงพระธรรม นำทาง นำสู่ใจ ได้รับแสงสว่าง
แสงสว่างใดเสมอด้วยปัญญาไม่มี

Admax

  • ผู้อุปถัมภ์
  • โยคาวจรผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 1063
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
1. หากทำโดยกำหนดเวลา ก็ให้ตั้งนาฬิกาปลุกไว้
2. หากกระทำโดยดูสภาพกำลังของกายเวทนาตน หากเมื่อปฏิบัติไปซักพักแล้วมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ไหวก็คลายจากสมาธิได้
3. หากกระทำโดยตั้งจิตอธิษฐาน(ข้อนี้สำหรับผู้ต้องการเข้าถึงสภาพใดสภาพหนึ่ง หรือ ผู้นั้นเป็นผู้ที่มีบารมีสะสมมากพอถึงแก่การบรรลุปฏิบัติแล้วเท่านั้นที่จะตั้งจิตทำ โดยการปฏิบัติในข้อนี้ห้ามผิดคำอธิษฐานและปณิธานเป้นอันขาด) เช่น อธิษฐานจิตว่าการนั่งคราวนี้จะขอนั่งจนกว่าจะได้เห็นสมาธิ เข้าถึงสมาธิ เข้าถึงการบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ เป็นต้น
บันทึกการเข้า
ความติดข้องใจเสพย์อารมณ์ความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น สมุทัย
ผลของการดำเนินไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น ทุกข์
รู้สัจธรรมและปรมัตถ์ ดำรงอยู่ในกุศล สติ ศีล สมาธิ พรหมวิหาร๔ คิดดี พูดดี ทำดี เป็น มรรค
การดับไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี ถึง อัพยกตธรรม เป็น นิโรธ

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ควรหัดฝึกแบบมี...วสี...ของตัวเอง
        อย่างเช่นที่พระอาจารย์ท่าน เคยใช้ที่ท่านเคยเล่าเอาไว้  ท่านใช้ แบบพุทโธ นับ
           พุทโธ1 พุทโธ2..................พุทโธ28000
              1วัน 1คืน-ท่านนับพุทโธได้....สองหมื่นแปดพันพุทโธ
                        แบบนี้ก็กําหนดเวลาเข้าออกได้
              ถ้ายังไม่เก่ง ก็หาวิธีลดลงมา เอาเอง
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา

arlogo

  • 1.บรรพชิต
  • โยคาวจรผล
  • *
  • ผลบุญ: +101/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 1176
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ในการเข้าออก สมาธิ อย่างถูกต้องตาม วสี นั้นมีการกำหนด อธิษฐาน ในการเข้า ออก

  เมื่อพระโยคาวจร มีความปรารถนา ภาวนาสมาธิ ก็พึงตั้งจิต อธิษฐาน นิมิต เพื่อยังนิมิต 3 ประการให้ปรากฏ เพื่อยังจิตเป็นไปตามองค์กรรมฐาน
 
  เมื่อจะออกจากสมาธิ ก็ต้องถอยออกจากสมาธิ ตามลำดับการเข้า การออกจากสมาธิ ก็ต้องอาศัยการ อธิษฐาน เช่นกัน ดังนั้นการอธิษฐาน จึงปรากฏในจิต เป็นลำดับ เป็นขั้น เป็นตอน

         ในระดับเบื้องต้น ก็ต้องมีวสี อย่างนี้
         1.อาวัชชวนวสี  หมายถึงการกำหนดนึกองค์บริกรรม เช่นภาวนา พุทโธ ก็อยู่กับ พุทโธ
         2.สมาปัชชนวสี หมายถึงการกำหนดเลื่อนฐานบริกรรม และ เข้า ออก จากการบริกรรม
         3.อธิษฐานวสี หมายถึงการกำหนดอธิษฐาน และทำตามที่อธิษฐานได้
         4.วุฏฐานวสี หมายถึงกำหนดเวลา เข้า ออก กรรมฐานได้อย่างแม่นยำ ไม่คลาดเคลื่อน
         5.ปัจเวกขณวสี หมายถึงกาำรกำหนดพิจารณาองค์ธรรม แห่ง สมาธิ เช่น องค์แห่ง ฌาน อุปจารฌาน



ขอบคุณภาพจาก http://www.sati99.com


ขอบคุณภาพจาก http://www.dhammajak.net
 
บันทึกการเข้า
แสงสว่างเกิดขึ้นแล้วแต่เรา ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแต่เรา วิชชาเกิดขึ้นแล้วแต่เรา

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ในการปฏิบัติ กรรมฐาน มีการกำหนดเวลาอย่างไร ในการเข้าออก คือสงสัย ว่าเวลาเราหลับตา ก็ไม่เห็นนาฬิกา แล้ว จะรู้เวลาขณะนั้นได้อย่างไร ว่าผ่านไป มากน้อย เท่าใด ในการภาวนา ในรอบ นั้น ๆ





http://army-etc.blogspot.com/2011/08/blog-post.html
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2012, 07:44:15 pm โดย THAWATCHAI173 »
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ในการปฏิบัติ กรรมฐาน มีการกำหนดเวลาอย่างไร ในการเข้าออก คือสงสัย ว่าเวลาเราหลับตา ก็ไม่เห็นนาฬิกา แล้ว จะรู้เวลาขณะนั้นได้อย่างไร ว่าผ่านไป มากน้อย เท่าใด ในการภาวนา ในรอบ นั้น ๆ

คุณน้อง "หมิว" สงสัยเรื่องเวลากระทู้ถามมาก็ไม่อยากตอบแบบวิชาการอะไรมาก เอาเป็นว่าคุยกันดีกว่าประสบการณ์

ตรงจากตัวผมเองเล่าให้พิจารณากันเล่นๆ ปกติแล้วผมจะชอบนั่งภาวนาก่อนไปทำงานทุกวันก็ประมาณหกโมงครึ่ง เนื่อง

จากเป็นช่วงเวลาที่สบายที่สุดภาวนาจะได้ดีช่วงนี้ เมื่ออธิษฐานนั่งเพียงใจนึกบอกกับตัวเองว่าขอแค่ 15 นาที เท่านั้น

ก่อนจะไปทำงานใจไม่คิดจะเอาเด่นดีอะไรแค่ให้ได้ทำเมื่ออธิษฐานนั่งใจนิ่งดีมากแล้วอยู่ๆก็นึกอยากถอนออกจาก

กรรมฐานพอเหลียวมองนาฬิกา 15 นาที พอดีทุกครั้ง ผมในช่วงแรกแรกที่ฝึกขวนขวายทำอย่างนี้แล้วก็ประสบกับ

เหตุการณ์อย่างนี้จนใจยอมเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของพระกรรมฐาน จึงภาวนามาเรื่อยๆ แต่มาระยะหลังเกิดกังวลกลัว

ด้วยติดหลงในอารมณ์นิ่งคือจะเพลินในสมาธิเลยเถิดไปมีผลเสียคือไปทำงานสายจึงเลิกวิธีการนี้ เท่านี้ที่คุยเป็นเพื่อน

ครับ




http://board.palungjit.com/f2/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7-%E0%B8%96%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2555-193984.html
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 08, 2012, 07:19:17 pm โดย THAWATCHAI173 »
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

SAWWALUK

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 246
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
คิดว่า ถ้าชำนาญในการภาวนาแล้ว จะกำหนดเวลาได้เองคะ ดังนั้นคิดว่าที่เราพะวงอยู่นั้น อาจจะเป็นเพราะว่าเรายังไม่มีความชำนาญในการเข้าออก ในกรรมฐาน คะ

  :s_hi:
บันทึกการเข้า