ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: การสอบความเป็นพระโสดาบัน ....  (อ่าน 4694 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

เฉินหลง

  • ศิษย์ตรง
  • กำลังแหวกกระแส
  • *****
  • ผลบุญ: +3/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 153
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
การสอบความเป็นพระโสดาบัน ....
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 27, 2011, 03:41:31 pm »
0
เกณฑ์ในการวัดสอบโสดาบัน

มีศีลบริบูรณ์และมีความเชื่อยังลงมั่นไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย
หรือ
เห็นญาณวัตถุ 44 ญาณวัตถุ 77
หรือ
มีอริยญายธรรม คือเห็นปฏิจฺจสมุปบาท

ถ้ามีคุณสมบัติข้างต้นพระศาสดาให้พยากรณ์ตนด้วยตนว่าเป็นโสดาบันแล้ว

จำมาจากเขาครับ

ก็เลยติดใจว่า ญาณวัตถุ 44 ญาณวัตถุ 77 เป็นอย่างไรครับ ใครพอจะอธิบายได้บ้างครับ

ขอบคุณครับ

 :c017:
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28361
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
Re: การสอบความเป็นพระโสดาบัน ....
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 27, 2011, 09:40:30 pm »
0
ผู้ รู้ ปฏิ จจ สมุป บาท แต่ละ สาย โดย นัย อริย สัจ สี่
ทั้ง ปัจจุบัน อดีต อนาคต ชื่อ ว่า โสดา บัน ( ญาณ วัตถุ ๔๔ )


ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! เรา จัก แสดง ซึ่ง ญาณ วัตถุ(๒) ๔๔ อย่าง แก่ พวก เธอ ทั้ง หลาย . พวก เธอ ทั้ง หลาย จง ฟัง ข้อความ นั้น จง กระทำ ใน ใจ ให้ สำเร็จ ประโยชน์ , เรา จัก กล่าว บัดนี้ . ครั้น ภิกษุ ทั้ง หลาย เหล่า นั้น ทูล รับ สนอง พระพุทธ ดำรัส แล้ว พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า ได้ ตรัส ถ้อยคำ เหล่า นี้ ว่า : -

ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ก็ ญาณ วัตถุ ๔๔ อย่าง เป็น อย่างไร เล่า ? ญาณ วัตถุ ๔๔ อย่าง คือ : -

( หมวด ๑ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ชรา มรณะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง ชรา มรณะ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ชรา มรณะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่องทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ชรา มรณะ ;


(๒ ) ญาณ วัตถุ แปล ว่า สิ่ง ซึ่ง เป็น ที่ กำหนด พิจารณา ของ ญาณ ญาณ กำหนด พิจารณา สิ่ง ใด สิ่ง นั้น เรียก ว่า ญาณ วัตถุ เฉพาะ ใน กรณี นี้ หมาย ถึง อาการ ๔ อย่าง ๆ ของ ปฏิจจ สมุป บาท แต่ละ อาการ ซึ่ง มี อยู่ ๑๑ อาการ ; ดัง นั้น จึง เรียก ว่า ญาณ วัตถุ ๔๔ .

( หมวด ๒ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ชาติ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง ชาติ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ชาติ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ชาติ;


( หมวด ๓ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ภพ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง ภพ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ภพ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ภพ ;

( หมวด ๔ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน อุปาทาน ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง อุปาทาน ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง อุปาทาน ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง อุปาทาน ;


( หมวด ๕ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ตัณหา ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง ตัณหา ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ตัณหา ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ตัณหา ;

( หมวด ๖ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เวทนา ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง เวทนา ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง เวทนา ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง เวทนา ;


( หมวด ๗ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ผัสส ะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง ผัส สะ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ผัส สะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง ผัส สะ ;

( หมวด ๘ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ในสฬาย ตนะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง สฬาย ตนะ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เห ลือ แห่ง สฬาย ตนะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เห ลือ แห่ง สฬาย ตนะ ;


( หมวด ๙ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน นาม รูป ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง นาม รูป ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง นาม รูป ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง นาม รูป ;

( หมวด ๑๐ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน วิญญาณ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง วิญญาณ ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง วิญญาณ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง วิญญาณ ;


( หมวด ๑๑ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน สังขาร ทั้ง หลาย ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน เหตุ ให้ เกิด ขึ้น แห่ง สังขาร ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง สังขาร ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ใน ข้อ ปฏิบัติ เครื่อง ทำ สัตว์ ให้ ลุ ถึง ความ ดับ ไม่ เหลือ แห่ง สังขาร ;

ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! เหล่า นี้ เรียก ว่า ญาณ วัตถุ ๔๔ อย่าง .



ผู้ รู้ ปฏิ จจ สมุป บาท แต่ละ สาย ถึง “ เหตุ เกิด ” และ “ ความ ดับ ”
ทั้ง ปัจจุบัน อดีต อนาคต ก็ ชื่อ ว่า โสดา บัน ( ญาณ วัตถุ ๗๗ )


ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! เรา จัก แสดง ซึ่ง ญาณ วัตถุ ๗๗ อย่าง แก่ พวก เธอ ทั้ง หลาย . พวก เธอ ทั้ง หลาย จง ฟัง ความ ข้อ นั้น , จง ทำ ใน ใจ ให้ สำเร็จ ประโยชน์ , เรา จัก กล่าว บัดนี้ . ครั้น ภิกษุ ทั้ง หลาย เหล่า นั้น ทูล รับ สนอง พระพุทธ ดำรัส นั้น แล้ว พระ ผู้ มี พระ ภาค เจ้า ได้ ตรัส ถ้อยคำ เหล่า นี้ ว่า : -

ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! ก็ ญาณ วัตถุ ๗๗ อย่าง เป็น อย่างไร เล่า ? ญาณ วัตถุ ๗๗ อย่าง นั้น คือ : -

( หมวด ๑ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี ชาติ เป็น ปัจจัย จึง มี ชรา มรณะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ ชาติ ไม่มี ชรา มรณะ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี ชาติ เป็น ปัจจัย จึง มี ชรา มรณะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ ชาติ ไม่มี ชรา มรณะ ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี ชาติ เป็นปัจจัย จึงมี ชรา มรณะ ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ ชาติ ไม่มี ชรา มรณะ ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ(๑) ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๒ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี ภพ เป็น ปัจจัย จึง มี ชาติ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ ภพ ไม่มี ชาติ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี ภพ เป็น ปัจจัย จึง มี ชาติ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ ภพ ไม่มี ชาติ ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี ภพ เป็น ปัจจัย จึง มี ชาติ ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ ภพ ไม่มี ชาติ ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๓ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี อุปาทาน เป็น ปัจจัย จึง มี ภพ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ อุปาทาน ไม่มี ภพ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี อุปาทาน เป็น ปัจจัย จึง มี ภพ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ อุปาทาน ไม่มี ภพ ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี อุปาทาน เป็น ปัจจัย จึง มี ภพ ;
 ๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ อุปาทาน ไม่มี ภพ ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป
ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

(๑)  ธัมมัฎ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ คือ ญาณ เป็น ไป ตาม หลัก ของ ปฏิจจ สมุป บาท เป็น กรณี ๆ ไป เช่น ใน กรณี แห่ง ชาติ ดัง ที่ กล่าว นี้ เป็นต้น .

( หมวด ๔ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี ตัณหา เป็น ปัจจัย จึง มี อุปาทาน ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ ตัณหา ไม่มี อุปาทาน ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี ตัณหา เป็น ปัจจัย จึง มี อุปทาน ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ ตัณหา ไม่มี อุปาทาน ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี ตัณหา เป็นปัจจัย จึงมี อุปาทาน ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ ตัณหา ไม่มี อุปาทาน ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๕ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี เวทนา เป็น ปัจจัย จึง มี ตัณหา ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ เวทนา ไม่มี ตัณหา ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี เวทนา เป็น ปัจจัย จึง มี ตัณหา ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ เวทนา ไม่มี ตัณหา ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี เวทนา เป็น ปัจจัย จึง มี ตัณหา ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ เวทนา ไม่มี ตัณหา ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;


( หมวด ๖ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี ผัสส ะ เป็น ปัจจัย จึง มี เวทนา ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ ผัสส ะ ไม่มี เวทนา ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี ผัสส ะ เป็น ปัจจัย จึง มี เวทนา ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ ผัสส ะ ไม่มี เวทนา ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาลยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี ผัสส ะ เป็น ปัจจัย จึง มี เวทนา ;
๖ . ญาณ คือความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ ผัสส ะ ไม่มี เวทนา ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๗ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพ ราะ มีสฬาย ตนะ เป็น ปัจจัย จึง มี ผัสส ะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ สฬาย ตนะ ไม่มี ผัสส ะ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพ ราะ มีสฬาย ตนะ เป็นปัจจัย จึงมี ผัสส ะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ สฬาย ตนะ ไม่มี ผัสส ะ ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มีสฬาย ตนะ เป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ สฬาย ตนะ ไม่มี ผัสส ะย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;


( หมวด ๘ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี นาม รูป เป็น ปัจจัย จึง มีสฬาย ตนะ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ นาม รูป ไม่มี สฬาย ตนะ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี นามรูป เป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ นาม รูป ไม่มี สฬาย ตนะ ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มีนามรูป เป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ นาม รูป ไม่มี สฬาย ตนะ ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๙ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี วิญญาณ เป็น ปัจจัย จึง มี นาม รูป ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ วิญญาณ ไม่มี นาม รูป ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี วิญญาณ เป็น ปัจจัย จึง มี นาม รูป ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ วิญญาณ ไม่มี นาม รูป ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี วิญญาณ เป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ วิญญาณ ไม่มี นาม รูป ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ๑๐ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี สังขาร เป็น ปัจจัย จึง มี วิญญาณ ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ สังขาร ทั้ง หลาย ไม่มี วิญญาณ ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี สังขาร เป็น ปัจจัย จึง มี วิญญาณ ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อสังขาร ทั้งหลาย ไม่มีวิญญาณ ย่อมไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี สังขาร เป็นปัจจัย จึง มีวิญญาณ ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่อ สังขาร ทั้ง หลาย ไม่มี วิญญาณ ย่อม ไม่มี ;
๗ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา ;

( หมวด ที่ ๑๑ ) ๑ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เพราะ มี อวิชชา เป็น ปัจจัย จึง มี สังขาร ทั้ง หลาย ;
๒ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า เมื่อ อวิชชา ไม่มี สังขาร ทั้ง หลาย ย่อม ไม่มี ;
๓ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เพราะ มี อวิชชา เป็น ปัจจัย จึง มี สังขาร ทั้ง หลาย ;
๔ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อดีต เมื่อ อวิชชา ไม่มีสังขาร ทั้ง หลาย ย่อม ไม่มี ;
๕ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เพราะ มี อวิชชา เป็น ปัจจัย จึง มี สังขาร ทั้ง หลาย ;
๖ . ญาณ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ใน กาล ยืด ยาวนาน ฝ่าย อนาคต เมื่ออวิชชา ไม่มีสังขาร ทั้งหลายย่อมไม่มี ;
๗ . ญาณ ๕๙ คือ ความ รู้ ว่า แม้ ธัมมัฏ ฐิติ ญาณ ใน กรณี นี้ ก็ มี ความ สิ้น ไป เสื่อม ไป จาง ไป ดับ ไป เป็น ธรรมดา

ดู ก่อน ภิกษุ ทั้ง หลาย ! เหล่า นี้ เรียก ว่า ญาณ วัตถุ ๗๗ อย่าง , ดังนี้ แล .

อ้างอิง  หนังสือ พุทธวัจน์  คู่มือโสดาบัน โดยพระคึกฤทธิ์ โสตถิผโล


ผมยังไม่เคยศึกษา เลยไม่รู้ว่าจะอธิบายอย่างไร

เอาไว้เหตุปัจจัยเหมาะสม จะมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง

 :25:
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

kobyamkala

  • โยคาวจรผล
  • ******
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 2236
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: การสอบความเป็นพระโสดาบัน ....
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 28, 2011, 06:05:24 am »
0
แจ่มแจ้ง เลยแค่อ่านให้จบ ก็น่าจเข้าใจแล้วนะคะ

แต่อ่านไปข้อแรกแล้ว ข้อสองถอยเลยคะ เพราะอ่านไม่ใคร่จะรู้เรื่องคะ

มีแบบวัดทดสอบ สั้น หรือ ไม่ คะ ท่านเฉินหลง

 :25:
บันทึกการเข้า
แล้วลองแอบมาแย้มกะลา
เพื่อดูโลก เห็นแล้วตกใจโลกนี้กว้างใหญ่จริง ๆ

tcarisa

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +9/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 524
  • ก้าวน้อย แต่เป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: การสอบความเป็นพระโสดาบัน ....
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: เมษายน 06, 2012, 06:00:32 pm »
0
เป็นข้อสอบที่ดี คะ ถ้าได้อ่านร่วมกับลิงก์นี้ ด้วยแล้วเข้าใจขึ้นทันทีคะ
ถ้าอ่านกระทู้ด้านล่างก่อนจะเข้าใจเร็ว คะ เมื่อก่อนเราก็่อ่านไม่รู้เรื่องคะแต่พอได้อ่านกระทู้ด้านล่างเมื่อวานแล้วรู้สึกเข้าใจขึ้นมาทันที คะ

ต้องขอบคุณพระอาจารย์ ที่ได้ถ่ายทอดเรื่องนี้ไว้คะ

“สติสัมปชัญญะกถา” แด่ท่านที่ต้องการเจริญ วิปัสสนา ก่อนเจริญ สัมมาสมาธิ
http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=7170


บันทึกการเข้า
เราเป็นหน่ออ่อน ที่รอการเติบโต
จึงขอสั่งสมบารมีธรรม เพื่อพระนิพพาน