ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ุถ้าเราจำเป็นต้องภาวนา ในที่ ๆ มีเสียงอึกทึก ควรทำอย่างไรให้จิตเป็นสมาธิไว  (อ่าน 5424 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Skydragon

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 92
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ตอนนี้มีการขุดท่อเจาะพื้น เสียงขุดทำดังมาเป็นเวลาอาทิตย์แล้วครับ ห้องนอนผมก็อยู่ตรงนั้น ปกติก็จะภาวนาอยู่ได้เพราะสงบ ตอนคำ่จะมีแต่เสียงรถผ่านเป็นระยะครับ แต่พอมีเสียงสกัด เสียงตัด ตึก ตั่ก รู้สึกนอนไม่หลับครับและพาลทำให้ ภาวนาไม่ได้อีกครับ กว่าจะทำเสร็จสอบถามแล้วบอกว่า 2 เดือนครับ

   จึงอยากถามว่า ถ้าผมจำเป็นต้องภาวนาในสภาะวที่ไม่เอื้อให้เสียงข้างนอกเบาได้ ผมควรภาวนาอย่างไหนดีครับที่สติจะไม่แตก และเป็นสมาธิได้โดยไวครับ

   :c017: :25:
บันทึกการเข้า

เด็กวัด

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 150
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
น่าจะอุปกรณ์ ช่วยอุดหู ด้วยนะครับ เช่น เอียปลั๊ก เอียมั๊ฟ นะครับ

 

 
บันทึกการเข้า

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ถ้าเราจำเป็นต้องภาวนา ในที่ ๆ มีเสียง อึกทึก พึงกำหนดเสียง ใด เสียงหนึ่ง เพื่อยังจิตให้เป็น สมาธิ

 เช่นฟังเสียง นาฬิกา
 ฟังเสียงพัดลม
 ฟังเสียงที่มีเสียงเดียว หรือ สองเสียง นะจ๊ะ ไม่ใช่หลากหลายเสียง

   การอุดหู ก็ช่วยได้บ้าง แต่ก็ไม่สัมฤทธิผล

   ถ้าเป็นฝึกอานาปานสติ ก็อาศัยเสียงลมหายใจเข้า และ ออก เป็นที่ระงับ

  ดังนั้น เราพึงหา เสียงที่เหมาะสม เอาเอง แต่ต้องมีเสียง ไม่มาก 1 ถึง 2 เสียงกำลังดี มากกว่านั้นกำหนดยาก  ในทางกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ใช้การใช้สะกดเสียง คือ ตั้งใจฟังเสียงใด เสียงหนึ่ง เพื่อคลายความหวั่นไหว ในเสียงที่จะเกิดขึ้น ทำให้จิตแนบกับความสงบ เป็นสมาธิได้ไว เพราะทำให้สมาธิตื่นตัว อยู่ 


 เจริญธรรม


 ;)

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 19, 2011, 11:11:38 am โดย arlogo »
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ประสิทธิ์

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +14/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 639
  • จิตว่าง ก็เป็นสุข
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ในระหว่างที่เรากำหนด เสียงนั้น ควรทำอย่างไร ครับ
ผมยังไม่ทราบวิธีการ ที่กำหนดเลยครับ
 :25:
บันทึกการเข้า
ใครชอบ ใครชัง ช่างเถิด
ใครเชิด ใครชู ช่างเขา
ใครด่า ใครบ่น ทนเอา
ใจเรา ร่มเย็น เป็นพอ

:;

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
เมื่อเกิดเสียง อึกทึกขึ้น ให้ภาวนาตั้งมั่น ในฐานจิตใด ฐานจิตหนึ่ง และกำหนดจิตภาวนาตามขั้นตอนกรรมฐาน เพียงเปิด โสตรับเสียงรับรู้เสียงเดียว โดยเลือกเสียงขึ้นมา เสียงหนึ่ง ส่วนเสียงอื่น มิต้องสนใจ เพียงแต่คอยฟังเสียงนั้นอย่างเดียว

   ในทางกลับกัน ผู้ฝึกเข้าสะกด ต้องคอยฟังเสียงลูกสะกด ที่หล่นร่วงกระทบบาตร นั่นก็คือการตั้งใจฟังเสียงเดียว คือเสียงลูกสะกดหล่นร่วง สำหรับครั้งพุทธกาลนั้น ใช้การเคาะไม้เป็นจังหวะเดียว หรือสองจังหวะ ในปัจจุบันวิธีการนี้กับมีใช้ ในกลุ่มมหายาน ที่เวลา ทำสมาธิ สวดมนต์ จะมีการเคาะ ปักฮื้อ หรือ ปลาไม้

 
ขอบคุณภาพจาก http://www.bloggang.com
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

wayu

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 162
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
มีปัญหาเรื่อง เสียงเช่นเดียวกันคะ จะเอาไม้มาเคาะเลยได้หรือไม่คะ

  :smiley_confused1: :c017:
บันทึกการเข้า

kanakorn

  • ศิษย์ตรง
  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 9
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ถ้าเราจำเป็นต้องภาวนา ในที่ ๆ มีเสียง อึกทึก พึงกำหนดเสียง ใด เสียงหนึ่ง เพื่อยังจิตให้เป็น สมาธิ

 เช่นฟังเสียง นาฬิกา
 ฟังเสียงพัดลม
 ฟังเสียงที่มีเสียงเดียว หรือ สองเสียง นะจ๊ะ ไม่ใช่หลากหลายเสียง

   การอุดหู ก็ช่วยได้บ้าง แต่ก็ไม่สัมฤทธิผล

   ถ้าเป็นฝึกอานาปานสติ ก็อาศัยเสียงลมหายใจเข้า และ ออก เป็นที่ระงับ

  ดังนั้น เราพึงหา เสียงที่เหมาะสม เอาเอง แต่ต้องมีเสียง ไม่มาก 1 ถึง 2 เสียงกำลังดี มากกว่านั้นกำหนดยาก  ในทางกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ใช้การใช้สะกดเสียง คือ ตั้งใจฟังเสียงใด เสียงหนึ่ง เพื่อคลายความหวั่นไหว ในเสียงที่จะเกิดขึ้น ทำให้จิตแนบกับความสงบ เป็นสมาธิได้ไว เพราะทำให้สมาธิตื่นตัว อยู่ 


 เจริญธรรม


 ;)

ผมก็ใช้วิธีเดียวกับพระอาจารย์ครับในเรื่องอานาปานสติ สักพักเสียงก็ไม่มีอุปสรรคครับ....
บันทึกการเข้า

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

Admax

  • ผู้อุปถัมภ์
  • โยคาวจรผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 1063
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ถ้าเราจำเป็นต้องภาวนา ในที่ ๆ มีเสียง อึกทึก พึงกำหนดเสียง ใด เสียงหนึ่ง เพื่อยังจิตให้เป็น สมาธิ

 เช่นฟังเสียง นาฬิกา
 ฟังเสียงพัดลม
 ฟังเสียงที่มีเสียงเดียว หรือ สองเสียง นะจ๊ะ ไม่ใช่หลากหลายเสียง

   การอุดหู ก็ช่วยได้บ้าง แต่ก็ไม่สัมฤทธิผล

   ถ้าเป็นฝึกอานาปานสติ ก็อาศัยเสียงลมหายใจเข้า และ ออก เป็นที่ระงับ

  ดังนั้น เราพึงหา เสียงที่เหมาะสม เอาเอง แต่ต้องมีเสียง ไม่มาก 1 ถึง 2 เสียงกำลังดี มากกว่านั้นกำหนดยาก  ในทางกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ใช้การใช้สะกดเสียง คือ ตั้งใจฟังเสียงใด เสียงหนึ่ง เพื่อคลายความหวั่นไหว ในเสียงที่จะเกิดขึ้น ทำให้จิตแนบกับความสงบ เป็นสมาธิได้ไว เพราะทำให้สมาธิตื่นตัว อยู่ 


 เจริญธรรม


 ;)





สาธุครับพระอาจารย์ ผมก็ทำอย่างนี้อยู่เช่นกัน โดยผมจะมองว่าธรรมชาติของหู คือ ได้ยินเสียง ก็จะกำหนดรู้เสียง โดยพิจารณาว่า มันดังหรือเบา สูงหรือต่ำ ทุ้มหรือแหลม กำหนดเสียอย่างนั้นมันก็เป็นสมาธิได้ เพราะใจจดจ่อกับเสียงเป็นอารมณ์โดยส่วนเดียว

บางครั้งผมก็มองว่าตนเองปฏิบัติภถูกไหม ผิดจากกรรมฐาน ๔๐ กองไหม กำหนดเอาเสียงนั้นลงเป็น กรรมฐานโดย กสินไหมแต่หากเป็นกสินท่านเพ่งดูธาตุเป็นหลัก ถ้าพิจารณาธาตุ ก็มีแค่มหาภูตรูปเป็นหลักไม่มีพิจารณาเสียง ถ้าจะกล่าวว่า อินทรย์สังวรณ์ ก็ไม่ใช่อย่างนี้ไม่จัดใน กรรมฐาน 40 กอง หรือ เข้ากรรมฐานกองไหน ผมคิดมากจนคิดว่าตนเองหลงทาง ผิดทางแล้ว เพราะไม่มีกองไหนลงว่าเพ่งเสียง

เมื่อพระอาจารย์ตอบคำถามอย่างนี้มา ผมโล่งใจสบายใจมากว่า ผมก็กระทำไม่ผิดทาง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 28, 2013, 11:42:22 am โดย Admax »
บันทึกการเข้า
ความติดข้องใจเสพย์อารมณ์ความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น สมุทัย
ผลของการดำเนินไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น ทุกข์
รู้สัจธรรมและปรมัตถ์ ดำรงอยู่ในกุศล สติ ศีล สมาธิ พรหมวิหาร๔ คิดดี พูดดี ทำดี เป็น มรรค
การดับไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี ถึง อัพยกตธรรม เป็น นิโรธ