ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ถ้าจะพิจารณา กาย เพื่อคลายความยึดมั่นถือมั่น ในกาย ควรทำอย่างไร ครับ  (อ่าน 5001 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

rainmain

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 323
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ask1

ถ้าจะพิจารณา กาย เพื่อคลายความยึดมั่นถือมั่น ในกาย ควรทำอย่างไร ครับ

 thk56
บันทึกการเข้า
คิดดี พูดดี ทำดี เป็นกุศล และ กรรมฐาน เป็นมหากุศล นะครับ

kobyamkala

  • โยคาวจรผล
  • ******
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 2236
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ประโยคที่ พระอาจารย์ มักจะพูดแสดงธรรม ในสถานี เสมอ ๆ คือ

   สิ่งใด สิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้นเป็นธรรม สิ่งนั้นล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา คะ

  :58:
บันทึกการเข้า
แล้วลองแอบมาแย้มกะลา
เพื่อดูโลก เห็นแล้วตกใจโลกนี้กว้างใหญ่จริง ๆ

นักเดินทาง

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 695
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
อย่างไร ก็อยากได้ เนื้อหา มากกว่าที่ กบ ตอบนะครับ

  thk56
บันทึกการเข้า

MICRONE

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 310
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ติดตามเนื้อหา อยู่ครับ แต่ทราบว่า พระอาจารย์ น่าจะไม่มีเวลามาตอบในเรื่องนี้นะครับ

  st12 st12 st12
บันทึกการเข้า
อบอุ่นใจด้วยคุณธรรม จุดเล็ก ๆ ที่ไม่ควรมองข้าม

สนั่น

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 14
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
คิดว่า คำถาม เหล่านี้ ศิษย์พี่ อย่างเช่น ลุงปุ้ม ท่านธรรมธวัช ท่าน aaaa ก็น่าจะตอบได้นะครับ

  :s_hi:
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28361
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0
ask1

ถ้าจะพิจารณา กาย เพื่อคลายความยึดมั่นถือมั่น ในกาย ควรทำอย่างไร ครับ

 thk56


 ans1 ans1 ans1

     หากเป็นศิษย์กรรมฐานมัชฌิมา ต้องระลึกถึง "มหาราหุโลวาทสูตร" โดยเฉพาะเรื่องธาตุ




มหาราหุโลวาทสูตร
สูตรว่าด้วย การประทานโอวาทแก่พระราหุล สูตรใหญ่
   
     ๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม. ตรัสสอนพระราหุลในระหว่างที่ท่านตามเสด็จไปบิณฑบาตในเวลาเช้าว่า
    พึงพิจารณาเห็นรูปทุกชนิด ทั้งอดีตอนาคตปัจจุบัน ,ภายในภายนอก ,หยาบละเอียด ,เลวดี ,ไกลใกล้
    ว่ารูปทั้งหมดนั้น มิใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา.


    พระราหุลกลับจากที่นั้น นั่งคู้บัลลงก์(ขัดสมาธิ) ณ โคนไม้ตันหนึ่ง ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า
    พระสารีบุตรเห็นเข้าจึงสอนให้เจริญอานาปาปานสติ (สติกำหนดลมมหายใจเข้าออก).
    ในเวลาเย็นพระราหุลออกจากที่เร้น เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามถึงวิธีเจริญอานาปานสติที่จะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก.

    ๒. พระผู้มีพระภาคตรัสสอน เรื่องรูปภายใน(ร่างกาย) ที่แข้นแข็ง มีผม ขน เป็นต้น
    ที่เรียกว่าธาตุดินภายใน ตลอดจนธาตุน้ำ ,ไฟ ,ลม ,อากาศ ทั้งภายนอกภายใน
    ให้เห็นเป็นแต่สักว่าธาตุ ไม่ใช่ของเรา เราไม่ได้เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา
    เมื่อเห็นตามเป็นจริงอย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายธาตุเหล่านั้น
    ทำจิตให้คลายกำหนด(หรือความติดใจ) ในธาตุเหล่านั้น


   ๓. ครั้นแล้วตรัสสอนให้เจริญภาวนา(อบรมจิต) เสมอด้วยธาตุแต่ละอย่าง
   ซึ่งผัสสะที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจเกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำจิตตั้งอยู่ได้     
   โดยชี้ให้เห็นว่า ธาตุเหล่านั้นย่อมไม่แสดงอาการผิดปกติ เช่น เบื่อหน่าย
   เกลียดชังสิ่งสะอาดหรือสกปรก ที่ทิ้งลงไปใส่ หรือที่ธาตุเหล่านั้นฝ่านไป.


   ๔. ตรัสสอนให้เจริญ
   เมตตาภาวนา (ไมตรีจิต คิดจะให้เป็นสุข) ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละพยาบาท (ความคิดปองร้าย) ได้ ,
   กรุณาภาวนา (เอ็นดู คิดจะช่วยให้พ้นทุกข์) ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละวิหิงสา (การคิดเบียดเบียน ) ได้ ,
   มุทิตาภาวนา (พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี) ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละอรติ (ความไม่ยินดีหรือริษยา ) ได้,
   อุเบกขาภาวนา (วางใจเป็นกลาง) ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละปฎิฆะ (ความขัดใจ) ได้,. 
   อสุภภาวนา(เห็นความไม่งาม) ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละราคะ (ความกำหนัดยินดี) ได้,
   อนิจจสัญญาภาวนา (กำหนดหมายสิ่งที่ไม่เที่ยง) ซึ่งเป็นเหตุให้ละอัสมิมานะ (ความถือตัวถือตนได้).

   ๕. ครั้นแล้วตรัสสอนวิธีเจริญสติกำหนดลมหายใจเข้าออกที่มีเหตุผลมาก มีอานิสงส์มาก ( แบบเดียวกับที่ตรัสไว้ในอานาปานบรรพ คือ หมวดว่าด้วยลมหายใจเข้าออกในมหาสติปัฎฐาน ที่ย่อมาแล้วในพระสุตตันตะเล่ม ๒ หน้า ๔)


อ้างอิง
พระไตรปิฎก ฉบับประชาชน โดย อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ
http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/5.2.html
ขอบคุณภาพจาก facebook Weera Sukmetup Phrakrusittisongvon
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28361
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0
ask1

ถ้าจะพิจารณา กาย เพื่อคลายความยึดมั่นถือมั่น ในกาย ควรทำอย่างไร ครับ

 thk56


 ans1 ans1 ans1

    ในขั้นตอนการปฏิบัติการกรรมฐานมัชฌิมาฯ ที่สระบุรี ในห้องพุทธานุสสติ
    จะมีขั้นตอนหนึ่งเป็นวิปัสสนาภาวนา เป็นการสัมปยุตธาตุตามองค์ธาตุ ในฐานจิตต่างๆ คือ
          ๑. พระขุททกาปิติ (ธาตุดิน) มี ๒๑ จุด
          ๒. พระขณิกาปิติ (ธาตุไฟ) มี ๖ จุด
          ๓. พระโอกกันติกาปิติ (ธาตุน้ำ) มี ๑๒ จุด
          ๔. พระอุุพเพงคาปิติ (ธาตุลม) มี ๗ จุด
          ๕. พระผรณาปิติ (ธาตุอากาศ) มี ๑๐ จุด


    การสัมปยุตธาตุนั้น วิธีปฏิบัติ คือ การกล่าวคำภาวนา เรียกว่า ภาวนาธาตุสัมปยุต
    ในเบื้องต้นที่สามารถเปิดเผยได้ ภาวนาแบบนี้ :-
    "กายนี้ไม่ใช่เรา เรานี้ไม่ใช่กาย กายนี้ไม่เป็นเรา เรานี้ไม่เป็นกาย กายนี้ไม่มีในเรา เรานี้ไม่มีในกาย มีแต่จิตล้วนๆ"
     
    ขอออกตัวว่า "ห้ามถามอะไรทั้งสิ้น" เท่าที่บอกมานี้เป็นการอนุโลมมากแล้ว

     :25:
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

whuchi

  • ศิษย์ตรง
  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 80
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 st11 st12 st12 st12 st12

  อ่านแล้ว รู้สึกถึงแนวทางกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ที่ชัดเจนมากเลย จ้า

 
บันทึกการเข้า

saieaw

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 271
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า

rainmain

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 323
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
คิดดี พูดดี ทำดี เป็นกุศล และ กรรมฐาน เป็นมหากุศล นะครับ

rainmain

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 323
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
คิดดี พูดดี ทำดี เป็นกุศล และ กรรมฐาน เป็นมหากุศล นะครับ