ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ได้ขึ้นกรรมฐาน ที่วัดราชสิทธาราม แล้ว ถ้าไปพบพระอาจารย์ต้องขึ้นกรรมฐาน อีก...  (อ่าน 4330 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ส้ม

  • ศิษย์ตรง
  • กำลังแหวกกระแส
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 184
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ได้ขึ้นกรรมฐาน ที่วัดราชสิทธาราม แล้ว ถ้าไปพบพระอาจารย์ต้องขึ้นกรรมฐาน อีกหรือไม่
คือตั้งใจไว้ว่า ช่วงปีใหม่ จะได้ไปร่วมปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์ สักสองสามวัน คะ

 ต้องขึ้นกรรมฐาน ใหม่อีกหรือไม่ ?

 โปรดแนะนำด้วยคะ

  :25: :25: :c017:
บันทึกการเข้า
เส้นทางแสนเปรี้ยว จะมีสุขจริงบ้างหรือไม่ ?

lamai54

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 138
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
อันนี้น่าจะให้ ทีมมัชฌิมา ตอบนะคะ ว่ามีธรรมเนียมปฏิบัติกันอย่างไร

 อยากรู้ด้วยคน คะ

  :88:
บันทึกการเข้า
แข่งขันในโครงการ yamaha นะฮะ อย่าเข้าใจว่าเป็นพวกเสื้อแดง.... เราไม่ใช่....

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28444
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0

 ผมเป็นคนหนึ่งที่ขึ้นกรรมฐานทั้งสองแห่ง ที่สระบุรีและที่วัดพลับ
 
 ตามทำเนียมแล้วต้องขึ้นกรรมฐานกับพระอาจารย์อีกครั้งครับ

  :49:
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

sayamol

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 95
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เคยได้ยินมาว่า ไม่จำเป็นต้องขึ้นหลายครั้ง คะ เพราะขึ้นถาด นั้นก็เพื่อบูชา พระรัตนตรัย พระกรรมฐาน
ส่วนผู้สอนกรรมฐาน จัดเทียนแพ ขอขมาก็เพียงพอแล้ว คะ

 ไม่ทราบว่าฟังมาผิดหรือไม่ คะ

  :25: :67:
บันทึกการเข้า
จริงใจ อ่อนน้อม พรั่งพร้อมด้วยความรู้
อัตตาหิ อัตตโนนาโถ
ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน

nongyao

  • ศิษย์ตรง
  • มีเหตุมีผล
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 380
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ข้าพเจ้าเป็นผู้หนึ่งที่ปรารถนาจะเรียนกรรมฐานมัชณิมาแบบลำดับนี้ ในครั้งแรกขอให้พระอาจารย์สนธยาสอน แต่ท่านให้คำว่ายังสอนไม่ได้ เพราะยังไม่ได้ขึ้นพระกรรมฐานกับครูบาอาจารย์ ท่านจะต้องพาผู้ที่ปรารถนาจะเรียนมาขึ้นถาดพระกรรมฐานกับท่านพระครูวีระ ที่วัดพลับก่อน เมื่อกลับมาที่สระบุรีข้าพเจ้าก็มายกถาดพระกรรมฐานกับพระอาจารย์อีกครั้ง เพราะความสำคัญของการขึ้นพระกรรมฐานนั้น เพื่อถวายตัวต่อพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆ์เจ้า ครูอาจารย์ และพระผู้สอนกรรมฐาน (ผู้ซึ่งจะถ่ายทอดความรู้และหลักปฏิบัติให้กับเรา)

แต่พระอาจารย์ท่านก็มิได้บังคับใคร สุดแท้แต่ความปรารถนาของแต่ละท่าน เพราะท่านถือว่าการขึ้นถาดพระกรรมฐานที่วัดพลับแล้วก็เป็นศิษย์สมเด็จปู่สุกเหมือนกัน แต่หากคุณให้ความเคราพในพระอาจารย์ก็สมควรจะถวายถาดพระกรรมฐานต่อท่านอีกครั้งนะค่ะ

บันทึกการเข้า
กราบนอบน้อมพระพุทธเจ้าอันเป็นอดีต อนาคต แลปัจจุบัน ด้วยเศียรเกล้า
                 พุทธัง  ธัมมัง  สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
                       
                         ข้าพเจ้าจักขอทำเหตุที่ดี

เฉินหลง

  • ศิษย์ตรง
  • กำลังแหวกกระแส
  • *****
  • ผลบุญ: +3/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 153
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
อยู่ที่ความศรัทธา และ ความเคารพ แล้วครับส่วนนี้
 ทำกี่ครั้งก็ได้บุญ ครับ การถวายอามิสบูชา แด่พระรัตนตรัย ทำบ่อย ๆ ก็ดีครับ
 :25:
บันทึกการเข้า

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ได้ขึนกรรมฐาน ที่วัดพลับแล้ว ก็ถือว่าได้ขึ้นแล้ว กับครูอาจารย์ ที่วัดพลับ ก็เรียนกรรมฐานกับกัลยาณมิตร
ในสายธรรมได้

 ส่วนการที่ขึ้นกรรมฐาน นั้นก็มีความหมายในการเคารพ พระรัตนตรัย และ เคารพ วิชชา คือ พระกรรมฐาน

 ที่สุดของการขึ้นกรรมฐาน ก็คือ ได้ทำบุญ ถวายอามิสบูชา แด่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และ เชิดชู
ครูอาจารย์ พระกรรมฐาน ในยุคนี้ ก็เห็นจะเป็นการกล่าวเชิดชู พระอริยะวงษญาณ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช องค์ี่ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ( หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน ) และ ครูอาจารย์สายกรรมฐาน ที่เผยแผ่
อยู่ในปัจจุบัน ก็คือ พระครูสิทธิสังวร เจ้าคณะ 5 วัดราชสิทธิราม ( วัดพลับ )

 ก็มีนัย สำคัญตามนี้

 เจริญธรรม
  ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ