ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: มีหลักการในการพิจาณา อนิจจัง ในกรรมฐาน หรือป่าวครับ  (อ่าน 3166 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ผมมักจะได้ยินว่า พระ พูดสอนให้พิจารณา ความไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น

อยากทราบมีหลักการในการพิจารณาความไม่เที่ยง อย่างไรครับ

ที่จะทำการพิจารณาให้เข้าใจ ให้ง่าย ๆ และถูกต้องตามหลักในพระพุทธศาสนา

โดยที่เราไม่ต้องไปนั่ง คิดเอง

 :25:
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ในการฝึกอานาปานสติ มีการกำหนด อนิจจลักษณะ 2 ส่วน คือส่วนของความไม่เที่ยง 25 ประการ

ส่วนของความเสื่อม ( ทุกข์ ) 25 ประการ รวมกันเป็นหลักกำหนด อนิจลักษณะ 50 ประการ ดังนี้

        ๑.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในรูปหายใจออก
        ๒.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในรูปหายใจเข้า
        ๓.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในเวทนาหายใจเข้า
        ๔.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในเวทนาหายใจออก
        ๕.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในสัญญาหายใจเข้า
        ๖.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในสัญญาหายใจออก
        ๗.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในสังขาร หายใจเข้า
        ๘.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในสังขาร หายใจออก
        ๙.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในวิญญาณ หายใจเข้า
        ๑๐.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในวิญญาณ หายใจออก
        ๑๑.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจักษุ หายใจเข้า
        ๑๒.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจักษุ หายใจออก
        ๑๓.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในหู หายใจเข้า
        ๑๔.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในหู หายใจออก
        ๑๕.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจมูก หายใจเข้า
        ๑๖.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจมูก หายใจออก
        ๑๗.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในลิ้น หายใจเข้า
        ๑๘.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในลิ้น หายใจออก
        ๑๙.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในกาย หายใจเข้า
        ๒๐.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในกาย หายใจออก
        ๒๑.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจิต หายใจเข้า
        ๒๒.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาในความไม่เที่ยงในจิต หายใจออก
        ๒๓.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในชราและมรณะ หายใจออก
        ๒๔.ย่อมศึกษาว่า จักพิจารณาความไม่เที่ยงในชราและมรณะ หายใจเข้า
        ๒๕.ย่อมศึกษาว่าจักพิจารณาธรรมทั้งหลายด้วยสามารถความเป็นผู้พิจารณาความไม่เที่ยงหายใจออกหายใจเข้า ( พิจารณาความเสื่อมอีก ๒๕ ลักษณะ รวมกันเป็น ๕๐ ลักษณะ )

บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

tcarisa

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +9/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 524
  • ก้าวน้อย แต่เป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ได้นำหลักการนี้ ไปพิจารณา วิปัสสนาแล้วคะ

รู้สึกว่าเข้าใจง่าย ๆ ไม่เหมือนเมื่อก่อน ที่กำหนดเอง มั่วไปหมด แล้วแต่จะนึก

 :25:
บันทึกการเข้า
เราเป็นหน่ออ่อน ที่รอการเติบโต
จึงขอสั่งสมบารมีธรรม เพื่อพระนิพพาน

pichai

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 99
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
อนุโมทนา ครับได้ฟังคราวที่แล้ว จดจำไม่ได้ รอบนี้ได้อ่านจึง มีแนวทางในการภาวนามากขึ้นครับ

 :85:
บันทึกการเข้า