ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ผีคิดอย่างไร ก็คิดเหมือนกับ คนเป็น นั่นแหละนะจ๊ะ ไม่ต่างกัน  (อ่าน 2349 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
คนตายคิดอย่างไร ก็คิดเหมือนกับคนเป็นนั่นแหละนะจ๊ะ ไม่ต่างกัน บางทีเมื่อคนตาย ๆ ไปแล้วเขาก็รีบหนีไปเลย ไม่มา แต่บางทีตายไกลแสนไกล ก็พยายามกลับมา ดังนั้นสัมภะเวสี ( วิญญาณ ) ที่ยังไม่ถูกดำเนินการด้วยบุญและบาปนั้น จึงวนเวียนไปมาให้เห็นอยู่เป็นบางที่บางแห่ง บางที่มีศพเยอะแยะเลยแต่ไม่มีดวงวิญญาณ อยู่ ยกตัวอย่าง สลัมชาวฟิลิปปินส์



www.wegointer.com/2013/05/ชุมชนยากไร้จากประเทศฟิ/
เข้าไปอ่านกันเอาก็แล้วกัน

ถ้าเป็นอย่างนี้ วิญญาณตายแล้วก็รีบไป ไม่อยู่ ก็เหมือนกับคนก็ไม่อยากอยู่ ดังนั้นในป่า บางแห่งเดินทางไปก็พบ วิญญาณ มากมาย เพราะเป็นที่นัดกิน นัดเที่ยว กันก็มาสุมรวมกัน เลยทำให้บางเขตกลายเป็นอาถรรพ์ เพราะวิญญาณไม่อยากให้เข้าไป แต่ที่นี้เรื่องของวิญญาณ นั้นไม่เท่าไหร่ ปัญหาเวลาเข้าป่า นี่ รุกขเทวดา นี่ก็เป็นปัญหาเหมือนกัน เพราะว่าเวลาพระสงฆ์เข้าป่าไปพบต้นไม้ใหญ่ ๆ เป็นที่ต้องตาต้องใจ สร้างวัด สร้างวา สร้าง สนส เทวดาเขาไม่ค่อยชอบเพราะว่าไปเปิดเผยที่อยู่ให้คนมาตัดต้นไม้ ดังนั้นรุกขเทวดา บางทีเขาก็ป้องกันตัวเอง ทำให้เราเดินหลงไปหลงมา หลงทางแล้วเราก็ต้องออกมาเองอย่างนี้
สมัยครั้งพุทธกาล พระไปปฏิบัติภาวนาในป่า รุกขเทวดาก็เกรงใจไม่กล้านั่งบนต้นไม้สูงใหญ่ จึงหลบออกไปพักอยู่ด้านนอกรอพระสงฆ์ออกไป แต่พระสงฆ์ ครั้นอยู่ไปก็ชอบใจ ก็เลยคิดว่าจะทำเป็นที่พำนักเป็นเรื่องสิ เทวดาไม่ชอบแล้วเขาลำบาก ก็เลย แปลงร่างมาเป็นผีหลอกหลอนพระสงฆ์ ทั้งกลางวัน กลางคืน ให้หวาดกลัว จะได้ออกไป ก็ได้ผลพระสงฆ์เหล่านั้นหนีออกไปแล้วนำความทูลกับพระพุทธเจ้า ๆ ก็ทรงตรัสว่า เธอจงกลับพร้อมให้บทสวด เรียกว่าเชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่างพระกับเทวดา เอาไว้ ก็คือ บทสวด กรณียเมตตาสูตร พระสงฆ์กลับไปก็สวดบทนี้กันก่อนภาวนาทุกครั้งทุกวัน เทวดาได้ฟังบทสวดก็รู้ว่าพระสงฆ์มาดีไม่ได้มาเบียดเบียนจึงทำตัวปกติ และอยู่่ร่วมกันกับพระสงฆ์ เป็นเหมือนผู้อารักษาพระสงฆ์ไปในตัว แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสูงขึ้น เทวดามีฤทธิ์มาก ก็หนีไปอยู่ในป่าลึก ที่คนเข้าไปไม่ถึง จึงทำให้ต้นไม้ใหญ่บางต้น ถูกโค่นหักได้ง่าย แต่ก็มีบางตัว เทวดาใจถึง ไม่ยอมไป คนจะจัดการอย่างไร ข้าก็ไม่ไปในที่สุด ก็ต้องพบกันครึ่งทาง ระหว่างคนกับวิญญาณ



บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0


ดังนั้นดวงวิญญาณคนตายในสถานที่อย่างนี้ ไม่เจอ เพราะตอนเป็นคนก็ไม่อยากอยู่ ตอนเป็นผี ก็ต้องรีบไปนั่นเอง


 :bedtime2: :bedtime2: :bedtime2:
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
    แม้ไม่ชอบผีตาย...แต่วันหนึ่งเมื่อ ตายหมดอายุขัย...ก็ต้องถูกใส..ให้พ้นจากชานเรือนอย่างไว...เพราะมนุษย์ชอบความสุข...เค้าไม่ชิบเาคนตายอยู่รวมด้วยหรอก...แม้ตอนอยู่จะรักให้ตาย

เค้าก็ต้องใสไปวัด...
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา

Admax

  • ผู้อุปถัมภ์
  • โยคาวจรผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 1063
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
ความติดข้องใจเสพย์อารมณ์ความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น สมุทัย
ผลของการดำเนินไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น ทุกข์
รู้สัจธรรมและปรมัตถ์ ดำรงอยู่ในกุศล สติ ศีล สมาธิ พรหมวิหาร๔ คิดดี พูดดี ทำดี เป็น มรรค
การดับไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี ถึง อัพยกตธรรม เป็น นิโรธ

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
 :smiley_confused1:

น่าเศร้า.!  ทุกข์เวียนเกิดเวียนตาย
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา