ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ทำไมเวลา ท่องคำภาวนา ไม่ต้องให้ใช้ความคิด ครับ  (อ่าน 2810 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

samathi

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 93
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ทำไมเวลา ท่องคำภาวนา ไม่ต้องให้ใช้ความคิด ครับ

เพราะถ้าไม่ใช้ ความคิด ผมว่า พิจารณาอะไร ไม่ได้นะครับ

ถ้าไม่ใช้ความคิด จะวิปัสสนา ได้อย่างไร ?

 :25:
บันทึกการเข้า

ISSARAPAP

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +11/-1
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 129
  • โดดเดี่ยว แต่ไม่เดียวดาย สัจจะธรรมแท้ ไม่มีสูตร
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: ทำไมเวลา ท่องคำภาวนา ไม่ต้องให้ใช้ความคิด ครับ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 10:55:23 pm »
0
เคยเจอคำนี้มาแล้ว ก็คือตัวผมเอง ส่งเมลถามพระอาจารย์ มาแล้วครับ

  ทำไม ไม่ต้องให้ใช้ ความคิด ในการภาวนา หรือ เจริญวิปัสสนา ครับ


  สั้น ๆ ง่าย เหมือนบรรลุแบบสายฟ้าแล่บครับ ที่ผมเจอมาแล้ว แต่ก็อึ้งครับ

  เพราะว่า ถ้าเรายังใช้ความคิด จิตเราก็ไม่สามารถพ้นจากสังสารวัฏได้ เพราะอะไร เพราะพระพุทธเจ้ากำหนด

สูตรไว้แล้ว เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท ว่า


   อวิชชา เป็นเหตุให้เกิด สังขาร ( การปรุงแต่ง / ความคิด )

   สังขาร เป็นเหตุให้เกิด วิญญาณ

   ...........


   ดังนั้น ถ้าเรายังใช้ สังขาร ในวิปัสสนา ก็ไม่มีทางที่พ้นจาก สังสารวัฏ แห่งสภาวะได้เลยครับ

   นอกจากเสีย จิตตั้งมั่น และเห็นแจ้งตามความเป็นจริง


   :25:


   
บันทึกการเข้า
ความสันโดษ เป็นบรมสุข

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: ทำไมเวลา ท่องคำภาวนา ไม่ต้องให้ใช้ความคิด ครับ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: ธันวาคม 17, 2010, 03:55:02 pm »
0
เพราะการใช้ความคิด นั้นยังอยู่ภายใต้ อวิชชา ตราบใดที่ยังมีการปรุงแต่ง

ก็จะไม่สามารถ เห้นธรรม หรือ รู้แจ้งได้

การที่ปราศจาก อวิชชา ได้ ต้องดับ นิวรณ์ธรรมเบื้องต้นก่อน นั่นก็คือการทำให้จิตมีสมาธิ

จึงจัก วิปัสสนา ได้ หรือ เห็นตามความเป็นจริงได้


เจริญธรรม

 ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ