ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

โพลล์

ขณิกสมาธิ ใช้กับกัมมัฏฐานชนิดใด

สมถกัมมัฏฐาน
- 0 (0%)
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
- 1 (20%)
ใช้ได้ทั้งข้อ ๑ และ ๒
- 3 (60%)
ใช้ไม่ได้ทั้งข้อ ๑ และ ๒
- 1 (20%)

จำนวนผู้โหวตทั้งหมด: 5

ผู้เขียน หัวข้อ: เห็นการเกิดดับชั่วขณะ ช้างกระดิกหู งูแลบลิ้น  (อ่าน 3366 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Mahajaroon

  • 1.บรรพชิต
  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 63
  • ข้างนอกต้องแก้ไข ข้างในต้องปล่อยวาง
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
              สมาธิมี  ๓  อย่าง

๑   อุปจารสมาธิ
๒   อัปปนาสมาธิ
๓   ขณิกสมาธิ

     ตอบว่า สมาธิชั่ว "ช้างกระดิกหู งูแลบลิ้น"  จัดเป็น ขณิกสมาธิ ครับ เพราะมีความหมายอย่างนี้ว่า  ความที่จิตระลึกรู้อารมณ์ปรมัตถ์(คือรู้รูปนาม)ที่กำลัง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป    ทีละขณะๆ  ตั้งมั่นต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา ตราบเท่าทีจิตยังรับรู้อารมณ์อยู่  ท่านเรียกว่า  ขณิกสมาธิ
 
ยังมีต่อนะ   เจริญพร                                           :s_laugh:         
บันทึกการเข้า
พุทธะนับหมื่นอยู่ที่ใจ

ban

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 117
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
Re: เห็นการเกิดดับชั่วขณะ ช้างกระดิกหู งูแลบลิ้น
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กันยายน 05, 2011, 07:59:56 pm »
0
อนุโมทนา ครับ ตามอ่านอยู่ครับ

 :25: :25: :25:
บันทึกการเข้า

Mahajaroon

  • 1.บรรพชิต
  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 63
  • ข้างนอกต้องแก้ไข ข้างในต้องปล่อยวาง
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: เห็นการเกิดดับชั่วขณะ ช้างกระดิกหู งูแลบลิ้น
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กันยายน 06, 2011, 03:36:05 pm »
0
อนุโมทนา ครับ ตามอ่านอยู่ครับ

 :25: :25: :25:


อ้างที่มาครับ
http://www.watbencha.com/webboard/index.php/topic,706.msg1696.html


อรรถกถาพระสูตรกล่าวถึงบุคคลผู้ทำอาสวักขยญาณให้แจ้งหรือบรรลุนิพพาน แยกเป็น  ๒ ประเภทใหญ่ ๆ  คือ สมถยานิก  และ วิปัสสนายานิก
    ๑)  สมถยานิก  คือ ผู้เจริญสมาธิมาก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนา  ตามความหมายอย่างกว้างคือ ได้สมาธิระดับอุปจารสมาธิก่อน ความหมายอย่างแคบคือ ได้ฌานตั้งแต่ปฐมฌาน จนถึงนิโรธสมาบัติ (รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธหรือนิโรธสมาบัติ )
    สมถสมาธิ   ได้แก่อุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ   เพ่งอยู่แต่อารมณ์บัญญัติอย่างเดี่ยวโดยไม่ให้ย้ายอารมณ์  ถ้าย้ายไปก็เสียสมาธิ   
           ๒) วิปัสสนายานิก  คือ ผู้เจริญวิปัสสนาก่อนได้สมาธิภายหลังพร้อมกับการบรรลุอาสวักขยญาณ)  แต่อย่างน้อยจะต้องมีสมาธิระดับขณิกสมาธิ เพื่อใช้ในการพิจารณา เมื่อพิจารณาจนวิปัสนาญาณสูงขึ้น และเมื่อขณะบรรลุอาสวักขยญาณ สมาธิเต็มเปี่ยมได้ฌานที่ ๑ เป็นอย่างน้อย วิปัสสนาขณิกสมาธิ มีอารมณ์เป็นปรมัตถ์(รูป,นาม) ตั้งสติกำหนดทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฏชัดในขณะปัจจุบัน  เช่น การเห็น การได้ยิน การเจ็บ การปวด การคิด การนึก เป็นต้น  อารมณ์ใดปรากฏชัดเจน ก็ตั้งสติกำหนดอารมณ์นั้นจนได้สมาธิชั่วขณะหนึ่ง  สมาธิชั่วขณะนี้แหละเรียกว่า ขณิกสมาธิ

                                       
                                       :08:
บันทึกการเข้า
พุทธะนับหมื่นอยู่ที่ใจ