ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ  (อ่าน 3760 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

วิชชุดา

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 275
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ ไม่ทราบมีการกำหนดอย่างไร คะ ในกรรมฐาน
 :c017:
บันทึกการเข้า
ขอให้ทุกท่าน จงเป็นผู้มีความสุข กันทุกคนนะจ๊ะ

นัยนา

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 191
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กันยายน 22, 2012, 12:39:21 pm »
0
ยังรออ่าน คำอธิบาย จากทุกท่าน นะคะ
  :c017: :49:
บันทึกการเข้า

บุญเอก

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 516
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กันยายน 23, 2012, 01:14:46 am »
0
เป็นคำถามน่าสนใจครับ บางที ผมก็เกิดอาการง่วง ช่วง ตี 2 ตี 3 ก็ลุกออกมาเดินบ้าง ครับ กาแฟบ้างครับ ตาม งานที่ทำครับ

  :s_hi:
บันทึกการเข้า
ทำงานอาสา หวังช่วยคนตกยาก แม้จะลำบาก แต่ก็จะทำโดยความไม่หนักใจ
อาสากตัญญู พัทยา ยินดีรับใช้

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: กันยายน 23, 2012, 11:05:56 pm »
0
ในกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลําดับ ตามที่ฟังครูบาอาจารย์เล่าให้ฟัง
   ผู้ที่ผ่านขั้นตอนไปตามลําดับ อาโลกสัญญา ความสว่าง เกิดขึ้นเองจากภายใน ทั้งนี้ ก็ขอรวม ทั้งปฐวีกสิน ก็เกิดขึ้นเองจากภายในไม่ต้องกําหนด หรืออยากให้เป็น
      ความกําหนดความอยากให้เป็น ไม่พ้นสังขตะ คืออยู่ในสังขาร
 ถ้าเทียบตามปฏิจสมุปบาทแล้ว ก็ยังตกอยู่ภายใต้อวิชชา ก็ยังคือยังไม่พ้นโลก
ในกรรมฐานมัชฌิมา ถือนิมิตแท้ที่ไม่ปรุงแต่ง เป็นรูปปรมัตถ์ เป็นนิมิตที่เกิดขึ้นเอง
   มีทั้งอุคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต
     ...............การกําหนดแบบที่ถามนั้น เป็นการฝึกแบบ เพ่งกสิน จดจําสมมุติ หรือกําหนดให้เป็น นั่น ไม่ใช่กรรมฐานมัชฌิมาแบบลําดับ
          ส่วนกสินในกรรมฐาน มัชฌิมา เป็นกรรมฐานต่อเนื่อง จาก อานาปานสติ

       จึงไม่ต้องกําหนดอะไร
เพียงใช้นิมิต สามประการเป็นหลักไป เดี๋ยวความเข้าใจก็มีเอง

ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ ในความสว่างแบบเกิดขึ้นเอง ทางได้ในกรรมฐานนี้ ด้านอารณ์ นาม ต้องหมดจรดด้วย เน้นความ ปีติ ปราโมทย์ และร่าเริง แคว่วคล่องว่องไว เป็นที่สุด ในเรื่องอารมณ์ด้วย

                                 ส่วนกรรมฐานอื่น การกําหนดให้เป็นแบบเพ่ง ความสว่าง อารมณ์ จะแข็ง หลีกเร้นผู้คน อยู่กับคนยาก แบกกลดหนีคนก็มี
     อารมณ์สองอย่าง หมายถึงตอนที่ได้บรรลุวิปัสสนาญาณแล้ว
      ครูอาจารย์เคยเล่าให้ฟังไว้อย่างนี้
      ถ้าผ่านตรงนั้นแล้วมันแก้ไขไม่ได้อีกแล้ว
       ก็แล้วแต่จริตความชอบของแต่ละท่าน
        จะเลือกอันไหนแบบไหนก็มีได้ตามจริต
        หรือจะเลือก มัชฌิมา ก็ตามลําดับ กรรมฐานมัชฌิมา
        ก็ไม่ต้องคิด ไม่ยาก ตามครูผู้สอน
       ..............หากฝึกแบบกําหนดความสว่าง ก็จดจําความสว่างเป็นอารมณ์ ไม่ยากก็เอาเทียนไขมาตั้งหนึ่งเล่มก็จบ
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา

นักเดินทาง

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 695
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: กันยายน 24, 2012, 12:13:20 am »
0
สาธุกับท่าน aaaa

 :25:
บันทึกการเข้า

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: เรียนถามเรื่อง การกำหนด อาโลกสัญญา คะ
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2012, 11:57:24 am »
0
การกำหนด อาโลกสัญญา ไม่สามารถทำได้สำหรับบุคคลที่ฝึก อุปจาระสมาธิ ยังไม่ได้ เพราะการกำหนดแสงสว่างนั้น ต้องอาศัยกำลังของสมาธิ ดังนั้น การที่เราเพียงแต่นึกคิดว่า ตอนนี้เป็นกลางวัน ในขณะที่เป็นกลางคืน จึงไม่สามารถข้ามพ้น ถีนมิทธะ คือความง่วงไปได้

  เจริญธรรม / เจริญพร

  ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ