ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: บุคคลที่หวังในการภาวนา จริง ๆ แล้วไม่ไช่การเริ่มจากปัญญา  (อ่าน 1619 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
บุคคลที่หวังในการภาวนา จริง ๆ แล้วไม่ไช่การเริ่มจากปัญญา เพราะปัญญาเป็นสิ่งสุดท้าย ที่จะได้ในการบรรลุ แต่ศีล มาพร้อมกับความรู้ เดี๋ยวนี้ ใช้คำว่า วิชา ไปเป็น ปัญญา กันมาก

บางท่านก็กล่าว สติ ตัวระลึก สัมปชัญญะ ตัวรู้ ก็เป็นปัญญา อย่างนี้ทำให้ความหมายของปัญญา หลากหลายเกินไป ไม่ตรงในสิ่งที่พระพุทธเจ้า บัญญัติ

สัมมาทิฏฐิ ไปตีความว่าเป็น ปัญญา ก็ยังไม่ใช่

สัมมาทิฏฐิ แปลว่าความเห็น แล้วเป็นการเห็นตาม เห็นตามใคร เห็นตามในสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอน นั่นคือ เห็น อริยสัจ 4 ตามที่พระพุทธเจ้า ตรัสสอนไว้ การเห็นตาม นี่เรียกว่ารู้ตาม การรู้ตามไม่ชื่อว่า ปัญญา

แล้วปัญญา มีอยู่ตรงไหน ?
ปัญญา มีอยู่ใน นิโรธ แต่ เริ่มต้นจากมรรค

เพราะมรรค ต้องไปสู่ การปฏิบัติ ท้ายที่สุด ปัญญาที่แท้จริง ก็คือ การละกิเลสอย่างสิ้นเชิง

ดังนั้น อะไรที่สนับสนุน สมาธิ และปัญญา
ศีล ไงละ เป็นที่สนับสนุน สมาธิ และปัญญา

ดังนั้นผู้ภาวนา จึงต้อง รักษาศีล มีศีล จนไปสู่ศีล อริยะ
ศีลอริยะ มีเป็นนิสัย ( สมาทานตลอดชีวิต )

สีลวิสุทธิ ย่อมทำให้จิตวิสุทธิ
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

นิรตา ป้อมนาวิน

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +20/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 1212
  • อย่างน้อยชาตินี้ขอปิดอบายภูมิ
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

Admax

  • ผู้อุปถัมภ์
  • โยคาวจรผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 1063
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
ความติดข้องใจเสพย์อารมณ์ความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น สมุทัย
ผลของการดำเนินไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น ทุกข์
รู้สัจธรรมและปรมัตถ์ ดำรงอยู่ในกุศล สติ ศีล สมาธิ พรหมวิหาร๔ คิดดี พูดดี ทำดี เป็น มรรค
การดับไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี ถึง อัพยกตธรรม เป็น นิโรธ