ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: วิชากรรมฐานและคำสอนของหลวงปู่ จากเอกสาร นำโพสต์ไว้บ้างบางท่านไม่ได้อ่าน  (อ่าน 6151 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
    • ดูรายละเอียด
ทุกอย่างขอบารมีพระพุทธเจ้า
วิชากรรมฐานและคำสอนของหลวงปู่


๑. วิชาบังคับธาตุขันธ์
ให้บังคับจากรูปกายทิพย์ ให้เปลี่ยนอริยาบทต่างๆ เช่น ยืนเป็นนั่ง เป็นนอน เป็นเดิน ทำให้กายทิพย์เป็นเด็ก เป็นหนุ่ม เป็นแก่
ประโยชน์ ยกสมาธิจิตให้สูงขึ้น จิตมีอานุภาพมากขึ้น

๒. วิชาแยกธาตุขันธ์
แยกธาตุน้ำก่อนแยกธาตุดินแยกธาตุไฟแยกธาตุลมไม่มีกายมีแต่ธาตุเท่านั้น>
ีีประโยชน์ ใช้ทางมรรค ผล จิตขาดจากการยึดมั่นถือมั่น ในรูปกาย

๓. วิชาคุมจิตคุมธาตุ
ใช้สมาธิขั้นเอกัคตาจิต คุมจิตตัวเอง คุมธาตุทั้ง ๔ ของตัวเอง
ประโยชน์ ทำให้มีสติมีสมาธิเข็มแข็ง



 วิชาธาตุปีติ ยุคล สุข

๑. ธาตุปีติ ยุคล สุข รวมกัน เรียกว่าธาตุธรรมกาย
ใช้ทำเป็นพื้นฐานแห่งอภิญญา จิตแก่กล้าใช้ตติยฌาน(สุข)ได้เลย
ถ้ายังไม่แก่กล้าใช้ถึงจตุถะอรูปฌาน ถอยมา ตติยฌาน(สุข)

๒. ธาตุปีติอย่างเดียว เรียกว่า ธาตุปีติวิมุติธรรม
ทำให้กิเลสทั้งปวงหลุด พิจารณาโดยวิธี บริกัมว่า นิพพาน

๓.ธาตุธาตุยุคลหก เรียกว่า ธาตุกายอมตะ
ประโยชน์ใช้ทำจิตให้สงบจากกิเลส พิจารณาว่า สงบ

๔. ธาตุสุขสมาธิเรียกว่าธาตุ สุขนิโรธธัม
ประโยชน์ ทางสุขอยู่ในความว่าง เอาพระนิพพานเป็นอารมณ์

ธาตุปีติทั้งห้า (ธาตุเทวดา) ใช้ได้ทุกอย่างแล้วแต่จิต
ธาตุยุคล(ธาตุพรหม) ใช้ทางเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ธาตุสุข(ธาตุพระพุทธเจ้า) ธาตุกายสุข จิตสุข มีธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ

ทำจิตเป็นสุข สยบกิเลส ธาตุ อุปจารพุทธานุสติ ใช้สยบมารทั้งภายนอก ภายใน
ใช้สยบภายในภายนอก



 วิชาทำฤทธิ์

อธิ ฐานตั้งธาตุ ห้าดวง ดิน น้ำ ไฟ ลม วิญญาณธาตุ ให้ทำลายธาตุ น้ำ ทำลายธาตุ ไฟ ทำลายธาตุดิน ทำลายธาตุลม เหลือวิญญาณธาตุ ก่อนทำให้อธิฐานเอาฤทธิ์ก่อน
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
    • ดูรายละเอียด
ธาตุภูสิโต

--------------------------------------------------------------------------------

 ธาตุภูสิโต

(ธาตุยิ่งใหญ่)
๑. ชุมนุมธาตุว่า เอหิปถวีพรหมา เอหิเตโชอินทรา เอหิวาโยนรายนะ เอหิอาโบอิสสรัง ว่าสามหน ธาตุทั้งสี่มาตั้งที่หทัยประเทศ
๒. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ ว่าสามหน จตุรภูตา เอหิสมาคมะ ธาตุทั้งสี่ ปรากฏที่สะดือ
๓. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ เตโช วาโย อาโบ ปถวี กสินะ นะโมพุทธายุ ภินทะติ นะพุทธัง นะปัจจักขามิ นะสิริ พันธนัง ธาเรมิ ให้ว่าสามหน เป่าเข้าตัวภูตมิออก ธาตุทั้ง ๔ ที่สะดือ มารวมที่หทัย




 องค์ธรรมเก้า แห่งของ จุดอานาปาน

๑. ที่สะดือ ตั้งมั่น คือองค์ธรรมพระนาคี ที่ชุมนุมธาตุ
๒. จะงอยปาก รู้กำเนิดชีวิต คือองค์ธรรมของ พระธรรมวิมุติ
๓. ขื่อจมูก การดำเนินของชีวิต คือองค์ธรรมของพระธรรมกลาง
๔. ปลายจมูก ตั้งอยู่ของชีวิต คือองค์ธรรมของ น้ำ
๕. ระหว่างตา ความรอบรู้ คือองค์ธรรมของ ไฟ
๖. ระหว่างคิ้ว ความเป็นไปเบื้องหน้า คือองค์ธรรมของ สังฆราชา สงฆ์ผู้ใหญ่>
๗. กลางกระหม่อม รู้แจ้ง คือองค์ธรรมของ ครูบาอาจารย์ และพระพุทธเจ้า
๘. ลิ้นไก่ รู้ปัจจุบัน ธรรมชาติ คือองค์ธรรมของ แผ่บารมี
๙. กลางหทัย สูญรวมความรู้ต่างๆ คือองค์ธรรมของ พระพุทโธ


 วิชาสลายจิต
สยบจิต ด้วยเมตตา ?อุเบกขา ประโยชน์คือ
สกดจิต ใช้เอกัคคตาจิต ประโยชน์คือ
ปลดปล่อยจิต นั่งดูจิต ดูกิเลส ผ่านไปเฉย ประโยชนคือ


 วิชาโลกุดร สยบมาร
๑. ตั้งที่กลางสะดือ ภาวนาว่า สติสัมโพชฌงค์
๒. ตั้งที่เหนือสะดือ ๒ นิ้ว ภาวนาว่า ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
๓. ตั้งที่หทัย ภาวนาว่า วิริยะสัมโพชฌงค์
๔. ตั้งที่คอกลวง ภาวนาว่า ปีติสัมโพชฌงค์
๕. ทั้งที่โคตรภูท้ายทอย ภาวนาว่า ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์
๖. ตั้งที่กลางกระหม่อม ภาวนาว่า สมาธิสัมโพชฌงค์
๗. ตั้งที่ระหว่างคิ้ว ภาวนาว่า อุเบกขาสัมโพชฌงค์
แล้วเปลี่ยนมา ภาวนาว่า โลกุตตะรัง จิตตัง ฌานัง

ผลประโยชน์ของวิชาโลกุดร สยบมาร
๑. แผ่ให้ผู้ที่ลำบาก
๒. แผ่บารมีให้มาร
๓. ทำจิตให้หลุดพ้น
๔. บูชาคุณครูบาอาจารย์
๕. เมตตา
๖. ปราบมาร
๗. มีความเพียร
๘. ปราบคนทุศีล
๙. รักษาโรคกาย โรคจิต ตนเอง และผู้อื่น




 วิชาสำรวมอินทรีย์

๑. ที่สะดือตั้ง ศีลวิสุทธิ
๒. ที่เหนือนาภีตั้ง จิตวิสุทธิ
๓. ที่หทัยตั้ง ทิฏฐิวิสุทธิ
๔. ที่คอกลวงตั้ง กังขาวิตรวิสุทธิ
๕. ที่โคตรภูท้ายทอยตั้ง มัคคามัคคญาณวิสุทธิ
๖. ที่กลางกระหม่อมตั้ง ปฏิปทาญาณทัสนวิสุทธิ
๗. ที่หว่างคิ้วตั้ง ญาณทัสนวิสุทธิ แล้วว่า โลกุตรัง จิตตัง ฌานัง
ประโยชน์ คล้ายกับ วิชาโลกุตรสยบมาร สำรวมตนเอง ตรวจศีลบริสุทธิ


 วิชาสำหรับผู้มีจิตทิพย์ สำรวจโลกภายนอก
๑. สะดือตั้ง อุทยัพพยญาณ เกิด ดับ
๒. เหนือสะดือ ภังคญาณ ดับอย่างเดียว
๓. หทัย ภยตูปัฏฐานญาณ คือความกลัวทั้งปวง
๔. คอกลวง อาทีนวญาณ เป็นโทษทั้งปวง
๕. ท้ายทอย นิพพิทาญาณ เกิดความเบื่อหน่าย
๖. กลางกระหม่อม มุญจิตุกามยตาญาณ เหมือนอยู่ในแหในชะลอม
๗. ระหว่างคิ้ว ปฏิสังขารุเปกขาญาณ อยากพ้นทุกข์แล
๘. ระหว่างตา สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยสละเสียให้สิ้น
๙. ปลายจมูก สัจจานุโลมมิกญาณ หาทางไปนิพพาน



เข้าจักรสุกิตติมา

๑. สะดือ ตั้งสุกิตติมา
ใช้ประโยชน์ เจริญแล้วเป็นสมาธิสงบ เกิดปัญญา เรียน
๒. เหนือสะดือ ตั้งสุภาจาโร อะไรก็ได้ จำแม่นเกิดปัญญา
๓. หัวใจ ตั้งสุสีลวา
๔. คอกลวง ตั้งสุปากโต
๕. ท้ายทอย ไม่มี
๖. กลางกระหม่อม ตั้งยสัสสิมา
๗. ระหว่างคิ้ว ตั้งวสิทธิโร
๘. ระหว่าตา ตั้งเกสโรวา
๙. ปลายนาสิก ตั้งอสัมภิโต
เรียนปฏิจสมุปบาท เพื่อสลายความหลง มีชีวิต ก็มีวิญญาณ มีวิญญาณ ก็มีความยึดมั่น
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

komol

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +7/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 643
    • ดูรายละเอียด
ทางไปนิพพาน พิจารณาสังเวศสาม

--------------------------------------------------------------------------------

 ทางไปนิพพาน พิจารณาสังเวศสาม
๑. ปลงต่อความตาย
๒. หน่ายนามรูปแล้ว เอาชีวิตแลกเอาพระนิพพาน
๓. พิจารณาให้เห็นสังขารธรรม รูปธรรม นามธรรม วิบัติไปต่างๆ
ปลงตามปัญญาพระไตรลักษณะ

นั่งจุกหู ใช้ปิดหู ปิดตา ไม่รับกิเลสภายนอก เหมาะสำหรับคนฟุ้งซ่าน
ทำเอาหูไปนา เอาตาไปไร่ ท่านให้ตั้งสมาธิที่หทัย ให้ตึงก่อน
แล้วยกสมาธิมาปิดหูขวาก่อน สมาธิตึงดีแล้ว ยกมาที่หทัยตึงดีแล้ว
ยกสมาธิไปปิดหูซ้าย ตึงดีแล้ว ยกมาที่หทัย ทำปิดตาก็เหมือนกัน

การเอาชนะกิเลส ให้ตรวจกิเลส ตัวไหนเกิดให้จดจำเอาไว้
แล้วเอาชนะกิเลสตัวนั้น

กิเลสตัวไหนเกิด ให้แผ่เมตตาให้กิเลส ให้อภัยกิเลส กิเลสจะไม่มาอีก
คือมีสตินั้นเอง ให้เจริญความดีงามเหนือกิเลส ให้ยิ่งๆ ขึ้นๆ ไป
บันทึกการเข้า
พลังจิต พลังปราณ พลังสมาธิ เป็นพลังสมดุลย์ เพื่อปัญญา

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
    • ดูรายละเอียด
วิชากรรมฐาน คําสอนหลวงปู่"สมเด็จพระสังฆราช สุก ไก่เถื่อน" ราชาสงฆ์ ต้นกรุงรัตนโกสินทร์
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา