ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ฝึกกรรมฐาน จำเป็นต้องขึ้น กรรมฐาน หรือไม่ ?  (อ่าน 3353 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
คำถามจากเมล

ฝึกกรรมฐาน จำเป็นต้องขึ้นกรรมฐาน หรือไม่?

ตอบ ถ้าไม่ได้ฝึก กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ก็ไม่จำเป็นต้องขึ้นกรรมฐาน ท่านสามารถเลือกฝึกฝนได้

ในตำราทางพระพุทธศาสนาซึ่งมีกรรมฐาน ปรากฏเป็นกองสันโดด 40 กองกรรมฐาน กับกรรมฐานที่ไม่ปรากฏ

เป็นกองใดกองหนึ่ง เช่น การฝึก รโช หรณัง ของพระจูฬปันถก การเพ่งดอกบัวนิรมิตของสัทธิวิหาริก ของ

พระสารีบุตร เป็นต้น ท่านสามารถเลือกฝึกได้ด้วยตนเอง

แต่ถึงแม้ไม่ขึ้นกรรมฐาน ก็ควรกล่าวถึง พระรัตนตรัยว่าเป็น สรณะ เป็นที่พึ่ง เป็นที่อาศัย

ส่วนถ้าผู้ใดต้องการฝึกกกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ก็เชิญได้ที่ คณะ 5 วัดราชสิทธาราม นะจ๊ะ


เจริญพร

 ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7249
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: ฝึกกรรมฐาน จำเป็นต้องขึ้น กรรมฐาน หรือไม่ ?
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: ธันวาคม 16, 2011, 08:54:20 am »
0
ปัจจุบัน อาตมาได้รับข้อความตอบรับ ในการที่ท่านทั้งหลายสนใจในการฝึกกรรมฐาน แต่ไม่อยากขึ้นกรรมฐาน

 ท่านควรจะทำอย่างไรกัน ?  ควรทำดังนี้

1.ศีกษาหลักคำสอน แนวทางกรรมฐาน และภาวนาด้วยตนเอง
2.ศึกษา ที่ไหน ที่เว็บนี้มี หัวข้อกรรมฐานมากมาย เทียบเคียงกับความรู้ของท่าน และพระไตรปิฏก ตัดสินใจถูกผิด ด้วยการลองปฏิบัติ หรือใคร่ครวญ
3.ควรกล่าวคำถึงพระรัตนตรัย เป็นที่พึ่งและ พึ่งขอขมาด้วยนะจ๊ะ อย่ากระทำแต่เพียงว่า เราเคารพแล้วในใจ
4.สั่งสม สุตตา จินตา และ ภาวนามยปัญญา จนกว่าบรรลุธรรม

ก็คงแนะนำได้เท่านี้นะจ๊ะ สำหรับผู้ที่ไม่ต้องการขึ้นกรรมฐาน

เจริญธรรม


 ;)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 16, 2011, 09:39:31 am โดย tcarisa »
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ