ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: เรียนถาม ว่า นิมิต นั้นเกิดขึ้นเอง ใช่หรือไม่ ครับ หรือ ว่า เกิดขึ้นจากการนึก...  (อ่าน 3497 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

keyspirit

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 68
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เรียนถาม ว่า นิมิต นั้นเกิดขึ้นเอง ใช่หรือไม่ ครับ หรือ ว่า เกิดขึ้นจากการนึก การคิดของเรา
แท้ที่จริง นิมิต ที่เป็น ฐานจิต ที่เป็น ปัคคาหะ นั้นแท้ที่จริงเป็น รูป อย่างไรครับ เราควรนึกเองใช่หรือไม่ครับ

  :smiley_confused1: :c017:
บันทึกการเข้า

วิชชุดา

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 275
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
พระสุตตันตปิฎก  ทีฆนิกาย  ปาฎิกวรรค  [๑๐.  สังคีติสูตร]
สังคีติหมวด  ๔

พระไตรปิฏก เล่มที่ 11 หน้า 285

อนุรักขนาปธาน    เป็นอย่างไร
            คือ    ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ตามรักษาสมาธินิมิต    ที่ชัดดีซึ่งเกิดขึ้นแล้ว    คืออัฏฐิกสัญญา    (กำหนดหมายซากศพที่ยังเหลืออยู่แต่ร่างกระดูกหรือกระดูกท่อน)ปุฬุวกสัญญา    (กำหนดหมายซากศพที่มีหนอนคลาคล่ำเต็มไปหมด)    วินีลกสัญญา(กำหนดหมายซากศพที่มีสีเขียวคล้ำคละด้วยสีต่าง  ๆ)    วิปุพพกสัญญา    (กำหนดหมายซากศพที่มีน้ำเหลืองไหลเยิ้มอยู่ตามที่ที่แตกปริออก)    วิจฉิททกสัญญา    (กำหนดหมายซากศพที่ขาดจากกันเป็น    ๒    ท่อน)    อุทธุมาตกสัญญา    (กำหนดหมายซากศพที่เน่าพองขึ้นอืด)    นี้เรียกว่า    อนุรักขนาปธาน


  ประการแรก ต้องการพูดถึงเรื่อง นิมิต ปกติจะอธิบายกัน มีอยู่ 3 ประการคือ

        1.บริกรรมนิมิต  การกระทำซึ่งสัญญาณด้วยการบริกรรม
        2.อุคคหนิมิต    การกระทำซึ่งใจด้วยบริกรรมนิมิต
        3.ปฏิภาคนิมิต   การกระทำให้ยิ่งขึ้นไปด้วยอุคคหนิมิต

  3.ประการนี้ขอยกไว้เพราะเป็นข้อความยกไว้ก่อน

 ที่ควรจะทำความเข้าใจ ไม่ใช่ลำดับ ที่ 2 และ ที่ 3 แต่เป็นลำดับที่ 1 คือ บริกรรมนิมิต ซึ่งในพระไตรปิฏกมีข้อความเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยใช้คำว่า สมาธินิมิต บ้าง บริกรรมนิมิต บ้าง

    ซึ่งเป็นการถูกต้องที่สุดก็คือ เราควรหันมาสนใจเรื่อง ของ สมาธินิมิต หรือ บริกรรมนิมิตให้มากขึ้น

    ก็เจริญธรรมเท่านี้ก่อนนะจ๊ะ



ที่มาเนื้อหา อ่านต่อที่นี่ คะ
เรียน ถาม เรื่อง นิมิต ที่เป็นรูปปรมัตถ์ หมายถึงอย่างไร คะ
http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=7532.0
บันทึกการเข้า
ขอให้ทุกท่าน จงเป็นผู้มีความสุข กันทุกคนนะจ๊ะ

วิชชุดา

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 275
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
นิมิต มี 2 ส่วน
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: สิงหาคม 28, 2012, 08:57:55 am »
0
จำได้ว่า พระอาจารย์ เคยอธิบาย เรื่องนิมิต ไว้ 2 ประการ คะ อยู่ใน Email แต่ค้นไม่พบ
แต่พอจะย่อไว้ ก่อนที่พระอาจารย์ จะมาอธิบาย นะคะ

   1.นิมิต ที่เป็น เหตุ มี 3 นิมิต
   2.นิมิต ที่เป็นผล มี 2 นิมิต

 ที่เหลือ รอพระอาจารย์ มาอธิบาย นะคะ


  :13: :49:
บันทึกการเข้า
ขอให้ทุกท่าน จงเป็นผู้มีความสุข กันทุกคนนะจ๊ะ

meditation

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 127
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: นิมิต มี 2 ส่วน
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: สิงหาคม 29, 2012, 12:18:20 am »
0
จำได้ว่า พระอาจารย์ เคยอธิบาย เรื่องนิมิต ไว้ 2 ประการ คะ อยู่ใน Email แต่ค้นไม่พบ
แต่พอจะย่อไว้ ก่อนที่พระอาจารย์ จะมาอธิบาย นะคะ

   1.นิมิต ที่เป็น เหตุ มี 3 นิมิต
   2.นิมิต ที่เป็นผล มี 2 นิมิต

 ที่เหลือ รอพระอาจารย์ มาอธิบาย นะคะ


  :13: :49:

   อย่างนี้ ก็เป็นศิษย์เดียวกั นพูดแบบเดียวกัน สินะคะ

  1. นิมิติที่เป็นเหตุ มี 3 นิมิต
      คือ ปัคคาหะนิมิต  บริกรรมนิมิต อุเบกขานิมิต

   2.นิมิตที่เป็นผล มี 2 นิมิต
      คือ อุคคหนิมิต  และ ปฏฺิภาคนิมิต

  3.นิมิตวิปัสนา มี 2 ประการ
     คือ นิมิตภายใน   นิมิตภายนอก
   
  ลมหายใจ เป็นทั้งนิมิตภายใน และ ภายนอก เป็นไปเพื่อความเห็นความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป
  เคยจำมาจากเมล เหมือนกันคำถามนี้เคยถามไปในจดหมายนานแล้ว นะคะ

   :s_hi: :49:
   
บันทึกการเข้า
ข้าพเจ้าปรียบเหมือนนกที่กำลังหัดเดิน มีสิ่งใดที่ล่วงเกินใคร ก็ขอกราบอภัยไว้ล่วงหน้านะคะ
ภาวนากรรมฐาน เพื่อใคร เพื่ออะไร ทำไม ? หาคำตอบจากใจเราก่อนนะคะ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
อนุโมทนา กับคำตอบที่ทุกท่าน นำมาสมทบ นับว่าตอบกันได้ดี มาก
สาธุ สาธุ สาธุ
;)
 
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ