ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ถ้า กรรมฐาน ที่เริ่ม ด้วย ศรัทธา แสดงว่า กรรมฐาน นั้นเป็น สัทธาจริต ใช่หรือไม่คะ  (อ่าน 1988 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

kobyamkala

  • โยคาวจรผล
  • ******
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 2236
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ask1

ถ้า กรรมฐาน ที่เริ่ม ด้วย ศรัทธา แสดงว่า กรรมฐาน นั้นเป็น สัทธาจริต ใช่หรือไม่คะ

ถ้าอย่างนั้น พุทธานุสสติ นี้เป็น สัทธาจริต เหมาะแก่ สัทธาจริต ใช่หรือไม่ คะ

  :88: thk56
บันทึกการเข้า
แล้วลองแอบมาแย้มกะลา
เพื่อดูโลก เห็นแล้วตกใจโลกนี้กว้างใหญ่จริง ๆ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
พระพุทธานุสสติ เป็นกรรมฐาน ที่เป็นทุกจริตกรรมฐาน

  หากแต่มาภาวนา พุทโธ อย่างเดียว ไม่มีฐานจิต ไม่มีห้อง ไม่มีลำดับ ก็เป็นศรัทธาเท่านั้น แต่พระกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ ประกอบด้วย 3 ห้อง พระพุทธานุสสติ มีกายโดยพิศดารอยู่ 9 กาย โดยย่อ มี 3 กาย ดังนั้นไม่ใช่เพียงแค่ศรัทธา จึงจะเข้าถึง กาย พระโสดาบันได้ พระโสดาบัน ไม่ได้เป็นได้ เพราะศรัทธา แต่ต้องมี ศีล สมาธิ ปัญญา ร่วมกันเป็นสมุฏฐานเบื้องต้น และ ท่ามกลาง และ ที่สุด

  พระพุทธเจ้าตรัสว่า พุทธานุสสติ เป็นธรรมอันเอก อันบุคคลภาวนาจริง ภาวนาจริง สามารถบรรลุเป็นพระอรหัตผลได้ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม

   พระพุทธานุสสติ เป็นคุณสมบัติเบื้องต้น ของพระโสดาบัน ดังนั้นจะเป็นพระอรหันต์ โดยไม่ ภาวนาพระพุทธานนุสสติ นั้นคงเป็นไปไม่ได้

   เจริญธรรม / เจริญพร
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

Admax

  • ผู้อุปถัมภ์
  • โยคาวจรผล
  • ****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 1063
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
บันทึกการเข้า
ความติดข้องใจเสพย์อารมณ์ความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น สมุทัย
ผลของการดำเนินไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี เป็น ทุกข์
รู้สัจธรรมและปรมัตถ์ ดำรงอยู่ในกุศล สติ ศีล สมาธิ พรหมวิหาร๔ คิดดี พูดดี ทำดี เป็น มรรค
การดับไปแห่งความพอใจยินดี และ ความไม่พอใจยินดี ถึง อัพยกตธรรม เป็น นิโรธ