ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
  • สนง.ส่งเสริมพระกรรมฐาน
แสดงกระทู้
This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.
    Messages   Topics Attachments  

  Messages - ธัมมะวังโส
หน้า: 1 ... 125 126 [127] 128 129 ... 132
5041  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / Re: ทำไม เวลาเจริญ เมตตา แล้ว นึกถึงหน้าคนนี้ทีไร เราแผ่เมตตาให้ไม่ได้คะ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:21:30 pm
ไปอ่านที่ ลิงก์ เรื่องนี้ ได้เลยนะจ๊ะ


http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=875.0
5042  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / Re: เกี่ยวกับเทศน์ มหาชาติ ครับ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:19:34 pm
อ้างถึง
1. เทศน์มหาชาติ นั้นต้องจัดเทศน์ ในกาลไหนบ้างครับ

ตอบให้ หนึ่งข้อนะ เดี๋ยวคนอื่นไม่ได้ตอบกัน

เทศน์ในกาลที่เหมาะสม นะจ๊ะ ส่วนใหญ่ คนไทยจะจัดเทศน์ กันในเดือน  2 3 4

เพราะว่าเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ว่างจากกิจการงาน สามารถมารวมตัวกันฟังเป็นจำนวนมากได้

และได้รักษาวัฒนธรรม ความสามัคคี กันด้วย

 ;)
5043  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / Re: ธรรมะ คือ อะไร ? เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:16:38 pm
อ้างถึง
ธรรมะ คือ ปริยัติ ปฏฺบัติ ปฏิเวธ


คำตอบใด ๆ ก็ไม่เกินจากตรงนี้ แล้ว ละจ๊ะ


อธิบายกันเป็น คุ้ง เป็น แคว ก็เป็น ปริยัติ

ผู้ฝึกภาวนา และทำตามปริยัติ นั้นก็เป็น ปฏิบัติ

การเป็นพระอริยะบุคคล ก็คือ ปฏิเวธ


 ;)
5044  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ทำไมงาน ทำบุญกระดูก ต้องมีการสวด ธัมมะนิยาม คะ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:08:58 pm
อ้างถึง
ถ้าเราทำบุญกระดูก 100 วัน 1 ปี นี้ ไม่ต้องสวดบท ธัมมะนิยาม

ไม่ต้องสวด ก็ได้ ถ้าไม่อยากฟัง

เอาไว้ให้คนอื่นตอบบ้าง

 ;)
5045  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: การสวดพระมาลัย จำเป็นต้องมีในงานศพ ทุกครั้งหรือป่าว เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:07:52 pm
อ้างถึง
การสวดพระมาลัย จำเป็นต้องมีในงานศพ ทุกครั้งหรือป่าว

ตอบว่าไม่มีความจำเป็น ในงานศพ

ตอบสั้น ๆ ไว้ให้คนอื่น ตอบบ้างนะ

 ;)

Aeva Debug: 0.0004 seconds.
5046  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ยันต์ ถ้าเราพิมพ์ ใส่กระดาษพกไว้ติดตัว จะมีอานุภาพ หรือป่าวครับ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 10:06:45 pm
วัตถุที่มีอานุภาพ โดยไม่ต้องใส่พลังจิต มีไม่กี่อย่าง ตามที่ครูอาจารย์ ของพระอาจารย์ ถ่ายทอดไว้นะจ๊ะ

1. เหล็กไหล 2. เหล็กน้ำพี้ 3.ผลพระเจ้า 5 พระองค์ 4.เบี้ยแก้ 5.ปรอทที่สั่งสมกันในถ้ำ 6.เข็มเงิน เป็นต้น

วัตถุที่ยกให้อ่านนั้นเป็นวัตถุ ที่มีผลในตัวเอง เป็นที่ปรารถนาของบรรดา พ่อมด หมอผี เหล่าพวกเล่นคุณไสย

แต่ที่กล่าวนี้ไม่ใช่ให้ไปหลงงมงาย กับสิ่งเหล่านี้

ตอบคำถามนะ

สำหรับ ยันต์ นั้นมีอานุภาพ ด้วยการเขียน และ เจริญจิตภาวนา บทที่บรรดาพระเกจิ ท่านใช้กัน

ส่วนใหญ่ ก็คือบท พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ รายละเอียดเรื่องนี้มีอยู่ในเรื่อง

ธชัคคสูตร ซึ่งรับรองด้วยพระพุทธองค์เอง ว่าผู้ที่เจริญ ธงชัยของพระพุทธศาสนา แล้ว

ย่อมพ้นจากความสะุดุ้ง หมู่มาร ที่จ้องทำร้าย ก็ไม่สามารถ กร้ำกรายได้

การเขียนยันต์ เกี่ยวพันกับเรื่อง สมาธิ

สมาธิ เป็นหลักในการใช้พลังจิต ในธาตุ การเปลี่ยน ธาตุ มาจากพลังจิต เป็นหลัก

การพิมพ์ยันต์ ใส่กระดาษ ไม่มีประโยชน์อันใด ในความสำเร็จทางอำนาจจิต

เพราะที่เราใช้นั้น เพื่อกล่อมเกลาจิต เนื่องด้วยเราเองมีความสงสัยตั้งแต่ต้น

จึงไม่มี พลานุภาพ ที่ใช้ได้ตามที่ต้องการ

สรุป ไม่ต้องไปทำแบบนั้น ให้ไปที่วัด ขอ จาก หลวงพ่อ หลวงพี่ ในวัดเลย ไม่ต้องเสียเวลานะจ๊ะ

ดีกว่า


เรื่องนี้ มีความสำคัญนะ ยกตัวอย่างตอนที่ พระพุทธองค์ ทรงส่งพระอรหันต์ ไปสาธยายมนต์ 8 ทิศ

ต่ออายุให้ กุมาร ก็ปรากฏเป็นความอัศจรรย์


คุยกันพอแค่นี้นะ เดี๋ยวให้คนอื่นเขาคุยต่อบ้าง

อย่าลืม ศรัทธา และ ความเลื่อมใส ในพระรัตนตรัย เป็นฉนวนของความศักดิสิทธิ์

 ;)
5047  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ร่างทรง นี้ ทรงได้จริง หรือป่าว ครับ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 09:53:32 pm
ร่างทรง หรือ ร่างผี ร่างเทพ ร่างอะไร ต่ออะไรนั้น

 มีอยู่ 2 พวกนะ

  1. พวกที่ถูกทรงจริง

  2. พวกที่จิตหลอนทรง

เอาเป็นว่า จริง ๆ หรือ ไม่จริง ดูให้ถูกวัตถุประสงค์

วันนี้ พระอาจารย์ ได้ยิน หลวงพ่อพุทธ แสดงธรรมเรื่องนี้พอดี ก็น่าจะได้ฟังกันเข้าใจกันบ้าง

ให้ดูที่วัตถุประสงค์ ของ ร่างทรง นะจะัเข้าใจเอง

มีพวกถูกหลอก ก็เยอะมาก ขายบ้าน ขายตัวเอง ด้วยก็มี ถูก แบล๊คเมย์ ด้วยคุณร่างทรง ก็เยอะตามข่าว

ในเว็บดูเอานะ

ส่วนที่จริงนั้น เขาไม่ค่อยพูด หรอก ที่พระอาจารย์ เห็นก็มีที่ ลำพูน คนหนึ่งแหละที่ว่าใช้ได้ สร้างสรรค์

เรื่องของ สัมภะัเวสี สัตว์นรก เทวดา พรหม วิสุทธิเทพ นั้นมีจริง นะจ๊ะ

ดังนั้น ฟังหู ไว้หู และดู พฤติกรรม ของร่างทรง

ส่วนใหญ่ ที่พระอาจารย์ไปพบมา หรือ ที่มาพบพระอาจารย์ 10 คน มีเจ๋ง อยู่ 1 คน

ดังนั้นอย่าไปสงสัยอะไรให้มาก เลย ภาวนา กรรมฐาน ให้มากขึ้นจะดีกว่า

ฝึกพลังจิตของเรา ให้รู้ ด้วยตนเอง จะได้คลายสงสัย

 ;)
5048  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / Re: เมตตาพรหมวิหาร กับ เมตตาอัปปมัญญา นั้นต่างกันอย่างไรในกรรมฐาน เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 09:46:52 pm
อนุโทนา เพื่อให้โลกนี้ได้คลายจากความร้อน

ขอให้ทุกคนได้เจริญ เมตตาพรหมวิหาร ทุกคนเทอญ

 ส่วน เมตตาอัปปมัญญา นั้นเป็นกรรมฐานต่อเนื่อง ที่เมื่อระดับจิตของผู้ฝึก เต็มขั้นใน เมตตาพรหมวิหาร

แล้ว ก็จะก้าวเข้าสู่ เมตตาอัปปมัญญา เอง


 ;)
5049  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: การประกาศตนเป็นพุทธบริษัท ต้องทำอย่างไร ครับ เมื่อ: สิงหาคม 16, 2010, 09:44:55 pm
อ้างถึง
จะถือเอาพระัพุทธ เป็นที่พึ่งได้อย่างไรครับ

การกล่าวคำถึง พระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่งนั้นเป็นเรื่องที่ถูกต้องแล้ว

 แต่ พุทธมามกะ อุบาสก อุบาสิกา จะพึ่งพระพุทธเจ้าได้อย่างไร นั้่นเป็นคำถามน่าสนใจ สำหรับ อุบาสก

อุบาสิกา ที่ยังไม่เข้าใจในพระพุทธคุณ

 การที่เราจะพึ่งพระพุทธเจ้า ด้วยกายเนื้อ นั้น ถึงพระองค์อยู่ ก็ไม่สามารถ พึ่งพาได้หรอก จ๊ะ

 เพราะการถือเอาพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่งนั้นถือเอาส่วนของการพึ่งทางใจเป็นหลัก

 พึ่งอย่างไร ในพระพุทธคุณ

  หนึ่งพึ่งความเป็นพระพุทธเจ้า ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า

  สองพึ่งในหลักธรรม ที่พระพุทธเจ้านำมาสอนเรา ว่าด้วยหลักธรรม เพราะมีพระพุทธเจ้า จึงมีหลักธรรม

  สามพึ่งในส่วนพระพุทธคุณ ทั้ง 9 ในบท อิติปิโส เป็นต้น

  สี่ พึ่งในความเป็นที่พึ่งทางใจ เพื่อเสริมกำลังใจ

  สำหรับศิษย์ กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ อาศัยห้องพระพุทธานุสสติ อยู่แล้ว ดังนั้น ความกังขา

  ส่วนนี้ ไม่น่าจะมี

 
อ้างถึง
พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งได้อย่างไรครับ

 เช่นกัน สำหรับ พระสงฆ์ นั้นมีอยู่ 2 พวก

 คือ 1. พระอริยะบุคคล มี จำพวก และ 8 ประเภท

      2. พระสมมุติสงฆ์ คือพระผู้ที่อุปสมบทเข้ามา เพื่อศึกษา ปฏิบัิติ เพื่อความเป็นพระอริยะบุคคล

  ทั้ง 2 ประเภทนี้ มีเพียงประเภท 2 นั้น ที่เป็นแบบเดียว คือเป็นพระภิกษุ

     ส่วนประเภทที่หนึ่ง นั้นเป็นได้ทั้ง ผู้ที่อยู่ในเพศฆราวาส และ พระภิกษุ

  เราจะพึ่งพระสงฆ์อย่างไร

   พระสงฆ์เป็นที่พึ่งได้ ดังนี้

   1.เป็นเนื้อนาบุญ เพราะถ้าไม่มีพระสงฆ์ พระสมมุติสงฆ์ แล้วเราก็ไม่รู้จะทำทานที่ผลานิสงค์ สูงได้อย่างไร

     ถ้าไปทำกับ ฆราวาส แน่ใจได้ว่า เป็นพระอริยะบุคคล
   
     ดังนั้น พระสงฆ์ จึงเป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน เป็นผู้ที่เราควรทำสักการะ เป็นผู้ที่นำ้จิตวิญญาณ เป็น

    ผู้สืบทอดพระศาสนา

   2.พึ่งพระสงฆ์ โดยการศึกษา หลักธรรม ถ้าเราเชื่อมั่นว่า หลักธรรมในอยู่แต่ ในคัมภีร์ ใบลาน

    พระไตรปิฏก โดยส่วนเดียว และ ไม่เข้ามาศึกษากับพระสงฆ์ ความเป็นพระโสดาบัน ไม่สามารถ

   ที่จะปรากฏได้ เพราะเราจะขาดคุณสมบัติ ข้อที่ 2 ของพระโสดาบัน คือ เคารพเลื่อมใส ต่อ พระ

   รัตนตรัย อันมีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ดังนั้น พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งได้ในส่วนนี้

   3.พระสงฆ์ที่ ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรง ปฏิบัติสมควร ล้วนแล้ว เป็นตัวอย่าง และเป็นกำลังใจ

   ในการปฏิบัติ ให้กับเราได้ เพราะเป็นแบบอย่าง ของผู้สำเร็จในการปฏิบัติ เป็นพุทธสาวก

   4.สำหรับในปัจจุบัน นั้นพระสงฆ์ ที่ทำหน้าที่เป็นที่พึ่งนั้น ก็มีหลากหลายแบบ ในส่วนกาย

    น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า เป็นสิ่งที่ต้องคู่กันไป เพราะพระสงฆ์ ต้องอาศัยอุบาสก อุบาสิกา เป็นผู้ทำทาน

   จึงจะดำรงชีวิตอยู่ได้ เราเองก็ได้พึ่งเนื้อนาบุญในส่วนนี้


ตอบพอให้ได้ศึกษาบ้าง

  ;)
5050  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / พระโคธิกะ ผู้ประหารตนด้วย ศัสตรา เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 10:50:12 pm
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค - หน้าที่ 149

โคธิกสูตรที่ ๓       
         [๔๘๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้       
     สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน อันเป็นสถานที่พระราชทาน
 เหยื่อแก่กระแต เขตกรุงราชคฤห์ ฯ       
     ก็สมัยนั้นแล ท่านโคธิกะ อยู่ที่กาลศิลาข้างภูเขาอิสิคิลิ ฯ
         
         [๔๘๙] ครั้งนั้นแล ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีจิตมั่นคงอยู่ ได้
 บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์ ภายหลังท่านโคธิกะได้เสื่อมจากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์นั้น แม้ครั้ง
 ที่ ๒ ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร  มีจิตมั่นคงอยู่ ได้บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์
 แม้ในครั้งที่ ๒ ก็ได้เสื่อมจาก   เจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์นั้น แม้ครั้งที่ ๓ ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่
 ประมาท มีความเพียร มีจิตมั่นคงอยู่ ได้บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์ แม้ในครั้งที่ ๓ ก็ได้เสื่อม 
 จากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์นั้น แม้ครั้งที่ ๔ ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีจิต
 มั่นคงอยู่ ได้บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์ แม้ในครั้งที่ ๔ ก็ได้เสื่อม  จากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์
 นั้น แม้ครั้งที่ ๕ ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีจิตมั่นคงอยู่ ได้บรรลุเจโตวิมุติ
 อันเป็นโลกีย์ แม้ในครั้งที่ ๕ ก็ได้เสื่อม  จากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์นั้น แม้ครั้งที่ ๖ ท่านโคธิกะ
 เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีจิตมั่นคงอยู่ ได้บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์ แม้ในครั้งที่ ๖
  ก็ได้เสื่อม  จากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์นั้น แม้ครั้งที่ ๗ ท่านโคธิกะเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
 มีจิตมั่นคงอยู่ ก็ได้บรรลุเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์อีก ฯ       
     ครั้งนั้นแล ท่านโคธิกะได้เกิดความคิดอย่างนี้ว่า เราได้เสื่อมจากเจโตวิมุติอันเป็นโลกีย์
 ถึง ๖ ครั้งแล้ว ถ้ากระไรเราพึงนำศัสตรามา ฯ   
       
         [๔๙๐] ลำดับนั้นแล มารผู้มีบาปทราบความปริวิตกแห่งจิตของท่าน โคธิกะด้วยจิตแล้ว
 จึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคด้วยคาถาว่า
     
              ข้าแต่พระองค์ผู้มีจักษุ มีเพียรใหญ่ มีปัญญามาก รุ่งเรืองด้วยฤทธิ์และ
              ยศ ก้าวล่วงเวรและภัยทั้งปวง ข้าพระองค์ขอถวายบังคมพระบาททั้งคู่
              ข้าแต่พระองค์ผู้มีเพียรใหญ่ สาวกของพระองค์อันมรณะครอบงำแล้ว
              ย่อมคิดจำนงหวังความตาย ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง ขอ
              พระองค์จงห้ามสาวกของพระองค์นั้นเสียเถิด ฯ
         ข้าแต่พระผู้มีพระภาคผู้ปรากฏในหมู่ชน สาวกของพระองค์ยินดีใน
 พระศาสนา ยังไม่ได้บรรลุพระอรหันต์อันตัดเสียซึ่งมานะ ยังเป็นพระ
 เสขะอยู่ ไฉนจะพึงกระทำกาลเสียเล่า ฯก็เวลานั้น ท่านโคธิกะได้นำ
 ศัสตรามาแล้ว ฯ
 
         [๔๙๑] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า ผู้นี้เป็นมารผู้มีบาป จึง ได้ตรัสกะมาร ผู้มีบาปด้วยพระคาถาว่า
             ปราชญ์ทั้งหลายย่อมทำอย่างนี้แล ย่อมไม่ห่วงใยชีวิต โคธิกะภิกษุ ถอน
             ตัณหาพร้อมด้วยราก นิพพานแล้ว ฯ
 
         [๔๙๒] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วตรัส ว่า ภิกษุทั้งหลาย
 เรามาไปสู่กาลศิลา ข้างภูเขาอิสิคิลิ อันเป็นที่โคธิกกุลบุตร    นำศัสตรามาแล้ว ฯ 
     
     ภิกษุเหล่านั้น กราบทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว ฯ           
     ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุหลายรูปได้เข้าไปยังกาลศิลาข้างภูเขาอิสิคิลิ ฯ
     
     พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นโคธิกะมีคออันพลิกแล้ว นอนอยู่     บนเตียงที่ไกล
 เทียว ก็เวลานั้นแล ควันหรือหมอกพลุ่งไปสู่ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศเบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ และอนุทิศ ฯ           
 
         [๔๙๓] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวก เธอเห็นไหม ควันหรือหมอกนั้นพลุ่งไปสู่ทิศตะวันออก ทิศ ตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศ เบื้องบน ทิศเบื้องต่ำ และอนุทิศ เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลรับพระดำรัสแล้วจึงตรัสว่า ดูกรภิกษุ
 ทั้งหลาย นั่นมารผู้มีบาป เที่ยวแสวงหาวิญญาณของโคธิกกุลบุตร ด้วยคิดว่า วิญญาณของโคธิก
 กุลบุตรตั้ง อยู่ ณ ที่ไหน
     
       ดูกรภิกษุทั้งหลาย โคธิกกุลบุตร มีวิญญาณอันไม่ตั้งอยู่แล้วปรินิพพาน
แล้ว ฯ

 
 
 

เรื่องนี้เป็นเรื่องของพระโคธิกะ ผู้ฆ่าตัวตาย หลังจากเข้าสู่ เจโตสมาธิอันเป็นโลกีย์แล้ว สละความไม่ยึดมั่น ถือมั่น
 
 ในกาย ใช้ศัสตราประหารตนเอง ระหว่างที่จะสิ้นใจ จึงบรรลุเป็นพระอรหันต์
 
 อ่านแล้ว ไม่พึงทำตาม เพราะว่า ถ้าพลาดพลั้งในธรรม ก็มีอบาย รออยู่
 
 ที่แสดงให้ทราบ ก็เพราะเป็นเรื่อง ของ มารผู้มีบาป ได้ทราบความตั้งอยู่แห่งพระอรหัต ของพระโคธิกะ ในครั้ง
 
 ที่ 8 จักเป็นไป จึงไปทูลกับ พระพุทธเจ้า ให้มาห้าม พระโคธิกะ ซึ่งพระองค์ก็เสด็จมา พร้อมภิกษุจำนวนหนึ่ง
 
 แต่ พระโคธิกะ นั้นสิ้นใจก่อนแล้ว พร้อมกับการพยากรณ์ พระอรหัตผล ของพระโคธิกะ ให้บรรดาภิกษุทรา
5051  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / มาร มีตัวตน หลายแบบ พระไตรปิฏก เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 10:35:47 pm
เรื่องของมาร ปรากฏ ในพระไตรปิฏมากมาย หลายตอน

ทั้งที่เป็น ปุคคลธิษฐาน และ ธรรมาธิษฐาน

มีนามของมาร ก็หลาย มาร ด้วยกัน

แต่ขอสรุปใ้ห้รู้จักมาร ในพระไตรปิฏก ที่ปรากฏ เป็นกลุ่มของมาร มีดังนี้

1.พระยามาร

2.ธิดามาร

3.มารผู้มีบาป

4.กิเลสมาร

5.ขันธมาร

6.มัจจุมาร

7.บ่วงมาร

8.ธาตุมาร

9.คติมาร

10.อายตนะมาร

11.อุปปัตติมาร

12.ปฏิสนธิมาร

13.ภวมาร

14.สังสารมาร

15.อัฏฏมาร

16.อภิสังขารมาร

17.เสนามาร

และที่ พระอาจารย์ ได้อ่านดูในพระไตรปิฏกแล้ว แสดงถึง รูปลักษณ์ ของมารอย่างชัดเจน

หน้าที่ ของมารคือ ผู้ขัดขวาง หลอกล่อ ไม่ให้ มนุษย์ ได้สำเร็จเป็น พระอรหันต์

ดังจะยกเรื่อง ของ มารผู้มีบาป หรือ ปาปมาร ในเรื่องของ พระโคธิกะ.
5052  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / สมาธิสูตร ว่าด้วยเรื่อง สัมมาสมาธิ ตอนที่ 2 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 10:06:49 pm

     ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า อย่างนั้นพระเจ้าข้า
      พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อสัมมาสมาธิอันประกอบด้วยองค์ ๕
อันประเสริฐ ที่ภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้เธอโน้มน้อมจิตไปเพื่อทำให้แจ้ง
ด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมที่จะพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งใดๆ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็น
พยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ เปรียบเหมือนสระน้ำที่ภูมิภาคอันราบเรียบ กว้างสี่เหลี่ยม
กั้นด้วยทำนบเต็มด้วยน้ำเสมอขอบปากพอที่กาจะดื่มได้ บุรุษผู้มีกำลังพึงเปิดทำนบสระนั้นทุกๆ
ด้าน น้ำก็พึงไหลออกมาได้หรือ

      ภิ. อย่างนั้น พระเจ้าข้า
 
     พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อสัมมาสมาธิอันประกอบด้วยองค์ ๕
อันประเสริฐ ที่ภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้ เธอโน้มน้อมจิตไป เพื่อทำให้แจ้งด้วย
ปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมที่จะพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งใดๆ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็น
พยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ เปรียบเหมือนรถม้าที่เทียมแล้วจอดอยู่ทางใหญ่ ๔ แยก
 มีพื้นราบเรียบมีประตักวางไว้ข้างบน คนฝึกม้าผู้ขยันชำนาญในการฝึกขึ้นขี่รถนั้นแล้ว ถือเชือก
ด้วยมือซ้าย ถือประตักด้วยมือขวา พึงขับรถให้เดินหน้าบ้าง ให้ถอยหลังบ้าง ได้ตามต้องการ
ฉันใด
       ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อสัมมาสมาธิอันประกอบด้วยองค์ ๕ อัน
ประเสริฐ ที่ภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้   เธอโน้มน้อมจิตไปเพื่อทำให้แจ้งด้วย
ปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมที่จะพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งใดๆ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยาน
ในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังอยู่ว่า เราพึงแสดงฤทธิ์ได้หลายประการ คือ
คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ ฯลฯ พึงใช้อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ เธอย่อมถึงความเป็น
ผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังว่า เราพึงได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ
เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ ด้วยทิพยโสตอันบริสุทธิ์ล่วงโสตของมนุษย์
เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังว่า เราพึงกำหนด
รู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือ จิตมีราคะ ก็พึงรู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ
ก็พึงรู้ว่าจิตปราศจากราคะ ฯลฯ หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็พึงรู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น เธอย่อมถึงความเป็น
ผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังว่า เราพึงระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น
อันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง ฯลฯ เราพึงระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อม
ทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ
 ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังว่า เราพึงเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติกำลังอุปบัติ เลว ประณีต มี
ผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ฯลฯ
พึงรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมด้วยประการฉะนี้ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยานใน
ธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่ ถ้าเธอมุ่งหวังว่า เราพึงทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อัน
หาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ เธอย่อม
ถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อเหตุมีอยู่

พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต


เมื่อบุคคลใดได้เรียน สมาธิ ขอให้คำนึงถึง สัมมาสมาธิ เป็นที่ตั้ง ด้วยเหตุ

ท่านทั้งหลายย่อมจักสมบูรณ์ ด้วย อริยมรรค ทั้ง 8 ประการ

Aeva Debug: 0.0006 seconds.
5053  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / สมาธิสูตร ว่าด้วยเรื่อง สัมมาสมาธิ เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 10:02:36 pm
                          ๗. สมาธิสูตร
         [๒๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงมีปัญญารักษาตน มีสติ  เจริญสมาธิหา
ประมาณมิได้เถิด เมื่อเธอมีปัญญารักษาตน มีสติ เจริญสมาธิหาประมาณมิได้อยู่ ญาณ ๕ อย่าง
ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตน ญาณ ๕ อย่างเป็นไฉนคือ ญาณย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้มีสุข
ในปัจจุบัน และมีสุขเป็นวิบากต่อไป ๑ สมาธินี้เป็น อริยะ ปราศจากอามิส ๑ สมาธินี้อันคน
เลวเสพไม่ได้ ๑สมาธินี้ละเอียด ประณีต ได้ด้วยความสงบระงับ บรรลุได้ด้วยความเป็นธรรม
เอกผุดขึ้น และมิใช่บรรลุได้ด้วยการข่มธรรมที่เป็นข้าศึก ห้ามกิเลสด้วยจิตอันเป็นสสังขาร ๑
 ก็เราย่อมมีสติเข้าสมาธินี้ได้ มีสติออกจากสมาธินี้ได้ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงมีปัญญา
รักษาตน มีสติ เจริญสมาธิอันหาประมาณมิได้เถิด เมื่อเธอทั้งหลายมีปัญญารักษาตน มีสติ
เจริญสมาธิอันหาประมาณมิได้อยู่ ญาณ ๕ อย่างนี้แล ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตน ฯ
                           จบสูตรที่ ๗
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต - หน้าที่ 23
                          ๘. อังคิกสูตร
         [๒๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงการเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕ อัน
ประเสริฐ เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕
อันประเสริฐเป็นไฉน
ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุปฐมฌาน เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่าน
ด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก
จะไม่ถูกต้อง เปรียบเหมือนพนักงานสรงสนานหรือลูกมือพนักงานสรงสนานผู้ฉลาด จะพึงใส่จุรณสีตัวลง
ในภาชนะสำริดแล้ว พรมด้วยน้ำหมักไว้ ตกเวลาเย็นก้อนจุรณสีตัวซึ่งซึมไปจับติดทั่วทั้งหมด ย่อมไม่
กระจายออกฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก
ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นการเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕ อันประเสริฐข้อที่ ๑

     ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตใน
ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขที่เกิด
แต่สมาธิอยู่ เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่มซาบซ่าน ด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ
 ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง เปรียบ
เหมือนห้วงน้ำลึกที่มีน้ำปั่นป่วน ไม่มีทางไหลมาได้ ทั้งในด้านตะวันออก ด้านใต้ ด้านตะวันตก
ด้านเหนือ และฝนก็ไม่ตกเพิ่มตามฤดูกาล แต่สายน้ำเย็นพุขึ้นจากห้วงน้ำนั้นแล้วจะพึงทำ
ห้วงน้ำนั้นแหละให้ชุ่มชื่น เอิบอาบ ซาบซึมด้วยน้ำเย็น ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งห้วงน้ำนั้น
ทั้งหมด ที่น้ำเย็นจะไม่พึงถูกต้อง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นนั่นแล ย่อมทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น
เอิบอิ่ม ซาบซ่าน ด้วยปีติ และสุขอันเกิดแต่สมาธิ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว
ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นการเจริญสัมมาสมาธิที่
ประกอบด้วยองค์ ๕ อันประเสริฐ ข้อที่ ๒
     
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ  เสวยสุขด้วยนามกาย
เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา
มีสติ อยู่เป็นสุข เธอทำกายนี้ให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่ม ซาบซ่านด้วยสุขอันปีติ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกาย
ของเธอทั่วทั้งตัวที่สุขอันปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนในกออุบล
กอบัวหลวง หรือกอบัวขาว ดอกอุบล ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว บางเหล่าซึ่งเกิดในน้ำ
ยังไม่พ้นน้ำ จมอยู่ในน้ำ อันน้ำหล่อเลี้ยง  ดอกบัวเหล่านั้น ชุ่มชื่น เอิบอาบ ซาบซึมด้วยน้ำเย็น
ตลอดยอด ตลอดเง่าไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งดอกอุบล ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ทั่วทุกส่วน
ที่น้ำเย็นจะไม่พึงถูกต้อง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ย่อมทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่ม ซาบซ่าน
ด้วยสุขอันปราศจากปีติ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่สุขปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง
นี้เป็นการเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕ อันประเสริฐ ข้อที่ ๓

     ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌานอันไม่มีสุข  ไม่มีทุกข์
เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสและโทมนัสก่อนๆ ได้มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่
เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละ ด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่ว
ทั้งตัว ที่ใจอันบริสุทธิ์ ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงนั่ง
คลุมตัวตลอดศรีษะด้วยผ้าขาว ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายทุกๆ ส่วนของเขา ที่ผ้าขาวจะไม่
ถูกต้อง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละ ด้วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่
มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ใจอันบริสุทธิ์ ผ่องแผ้วจะไม่ถูกต้อง ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เป็นการเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์๕ อันประเสริฐ ข้อที่ ๔

     ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมถือด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ใคร่ครวญ
ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ซึ่งปัจจเวกขณนิมิตด้วยปัญญาเปรียบเหมือนคนอื่นพึงเห็นคนอื่น
 คนยืนพึงเห็นคนนั่ง หรือคนนั่งพึงเห็นคนนอนฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เธอย่อมถือด้วยดี
 ทำไว้ในใจด้วยดี ใคร่ครวญด้วยดีแทงตลอดด้วยดี ซึ่งปัจจเวกขณนิมิตด้วยปัญญา ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เป็นการเจริญสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕ อันประเสริฐ ข้อที่ ๕
 
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อสัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕ อันประเสริฐอันภิกษุเจริญ
แล้ว ทำให้มากแล้ว อย่างนี้ ภิกษุจะโน้มน้อมจิตไปเพื่อทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรม
ที่จะพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งใดๆ เธอย่อมถึงความเป็นผู้ควรเป็นพยานในธรรมนั้นๆ ในเมื่อ
เหตุมีอยู่โดยแน่นอน  เปรียบเหมือนหม้อน้ำตั้งอยู่บนที่รอง เต็มด้วยน้ำเสมอขอบปากพอที่กาจะ
ดื่มได้ บุรุษผู้มีกำลัง พึงเอียงหม้อน้ำนั้นไปรอบๆ น้ำก็พึงกระฉอกออกมาได้หรือ ฯ
5054  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / อานิสงค์ การเดิน จงกรม ...... ที่ควรทราบ เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 09:53:10 pm
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต - หน้าที่ 26


 ๙. จังกมสูตร
         ๒๙ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการจงกรม ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน
 
 คือ ภิกษุผู้เดินจงกรม




ย่อมเป็นผู้อดทนต่อการเดินทางไกล ๑

 ย่อมเป็นผู้อดทนต่อการบำเพ็ญเพียร ๑

 ย่อมเป็นผู้มีอาพาธน้อย ๑

 อาหารที่กินดื่ม เคี้ยว ลิ้มแล้วย่อมย่อยไปโดยดี ๑

 สมาธิที่ได้เพราะการเดินจงกรมย่อมตั้งอยู่ได้นาน ๑





ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการเดินจงกรม ๕ ประการนี้แล ฯ


ข้อความจาก พระไตรปิฏก ที่ควรทราบไว้
5055  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / ผู้ฝึกสมาธิย่อมมี ญาณ 5 ประการ เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 09:46:34 pm
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต - หน้าที่ 22

๗. สมาธิสูตร
       
 
 ๒๗ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงมีปัญญารักษาตน มีสติ  เจริญสมาธิหาประมาณมิได้เถิด เมื่อเธอมีปัญญารักษาตน มีสติ เจริญสมาธิหาประมาณมิได้อยู่ ญาณ ๕ อย่าง ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตน
ญาณ ๕ อย่างเป็นไฉนคือ



ญาณย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้มีสุข
ในปัจจุบัน และมีสุขเป็นวิบากต่อไป ๑

สมาธินี้เป็น อริยะ ปราศจากอามิส ๑

สมาธินี้อันคน
เลวเสพไม่ได้ ๑

สมาธินี้ละเอียด ประณีต ได้ด้วยความสงบระงับ บรรลุได้ด้วยความเป็นธรรมเอกผุดขึ้น และมิใช่บรรลุได้ด้วยการข่มธรรมที่เป็นข้าศึก ห้ามกิเลสด้วยจิตอันเป็นสสังขาร ๑

ก็เราย่อมมีสติเข้าสมาธินี้ได้ มีสติออกจากสมาธินี้ได้ ๑




ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงมีปัญญา
รักษาตน มีสติ เจริญสมาธิอันหาประมาณมิได้เถิด เมื่อเธอทั้งหลายมีปัญญารักษาตน มีสติ เจริญสมาธิอันหาประมาณมิได้อยู่ ญาณ ๕ อย่างนี้แล ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตน ฯ


เป็น พระพุทธพจน์ ที่ศิษย์กรรมฐาน ควรทราบผู้ฝึกปฏิบัติ
ย่อมเข้าถึง ญาณทั้ง 5 ได้
Aeva Debug: 0.0005 seconds.Aeva Debug: 0.0005 seconds.
5056  เรื่องทั่วไป / ข่าวสารเพื่อนถึงเพื่อน / ประกาศยกเลิกเบอร์โทรศัพท์ พระอาจารย์ เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 01:20:50 pm
พระอาจารย์ ยกเิลิกการใช้ เบอร์โทรศัพท์

หมายเลข 0814333659 อย่างถาวร ไม่ได้ใช้เปิดเครื่องมีิิเงินเหลือเยอะ วันหมดปีหน้า

แต่ทาง Dtac เขามีระเบียบ ถ้าไม่เปิด ซิมใช้งานเกิน 3 เดือนยกเลิกเบอร์ ( พึ่งจะรู้ระเบียบนี้ )

ติดต่อไปทาง ศูนย์ Dtac แล้ว ไม่สามารถใช้เบอร์นี้ได้อีก

ดังนั้นจึงขอประกาศยกเลิก เบอร์โทรศัพท์ 081-433-3659 ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

ส่วนเบอร์อื่นถ้าพระอาจารย์ จะใช้จะแจ้งให้ทราบกันอีกครั้ง

เจริญพร ทุกท่านที่ติดต่อเข้ามาทางเมล์Aeva Debug: 0.0011 seconds.Aeva Debug: 0.0005 seconds.
5057  เรื่องทั่วไป / ข่าวสารเพื่อนถึงเพื่อน / เชิญร่วมงานฟังเทศน์ มหาชาต ที่บ้านลุงสัน ( email ) เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 12:53:13 pm
เป็นข่าวงานบุญที่น่าส่งเสริม




เนื่องจากห้องธรรมเพื่อชีวิตได้เวียนมาครบรอบเป็นปีที่ 3 ในวันที่ 12  สิงหาคมนี้แล้ว ทางโอพีจึงได้จัดให้มีการสังสรรกัน  เพื่อความสามัคคีและได้เจอกันตัวเป็นๆๆ บรรยากาศง่ายๆเป็นกันเอง  ข้าวหม้อแกงหม้อครับ แต่อย่านำมาเยอะ เพราะที่งานมีเลี้ยงอยู่แล้ว  อนึงเราจะมีการถวายเพลพระด้วย ท่านใดนำภัตตาหารมา  ก็ขอให้เตรียมมาแต่เนิ่นๆครับ
งานเริ่มต้นที่ 0.00 น
ของวันที่ 22


เลยด้วยการเปิดสื่อเทศน์มหาชาติเพื่อความเป็นศิริ ครบทั่้งหมด 13 กัณฑ์  โดยเริ่มต้นที่คาถาพัน  โดยทั้งนี้จะเปิดโอกาสให้สมาชิกทั้งในงานและทางบ้านร่วมเป็นเจ้าภาพในแต่ละ กัณฑ์ จนครบ
 
ท่านใดว่างขอเรียนเชิญมาร่วมงานกันพร้อมเพียงครับ

สามารถนอนค้างแรมบ้านลุงสันเลย ตามที่อยู่นี้ 24/265 ม อยู่เจริญดอนเมือง  วิภาวดีรังสิต 37 ขาออก [/]หาง่ายมากๆ ตามลิงค์นี้

อยู่ซอย 3 นะครับ  เดินหาง่าย
 
http://wikimapia.org/#lat=13.9437304&lon=100.6134796&z=15&l=0&m=b หรือ http://www.4shared.com/file/123468302/8d7ee99f/map01_copy.html



 กำหนดการ
   0.00 น คาถาพัน
 11.00 ถวายเพลพระ
 13.00 ร่วมสังสรร
 ขออนุโมธนาสาธุการ กับการเข้าร่วมทำกิจกรรมห้องธรรมอย่างต่อเนื่องและสนใจยิ่งครับ
 ลุงสัน

ใครต้องการไปร่วมงานบุญก็เชิญนะ

เรียนเชิญสมาชิกทุกท่านเป็นเจ้าภาพเปิดสื่อเทศน์มหาชาติ เนื่องในวันเกิดห้องครบรอบ 3 ปีโดยแสดงความจำนงค์ได้ที่โอพีทุกท่าน  เริ่มตั้งแต่ 0.00 น ของวันที่ 21 ไปจนถึง 0.00 วันที่ 22 วนไปจนจบ
0.00 น คาถาพัน ลุงสันต์
กัณฑ์ที่ 1 ทศพร
กัณฑ์ที่ 2 หิมพาน
กัณฑ์ที่ 3 ทานกัณฑ์
กัณฑ์ที่ 4 วนประเวศน์
กัณฑ์ที่ 5 ชูชก
กัณฑ์ที่ 6 จุลพน
กัณฑ์ที่ 7 มหาพน
กัณฑ์ที่ 8 กุมาร
กัณฑ์ที่ 9 มัทรี
กัณฑ์ที่10 สักกบรรพ
กัณฑ์ที่11 มหาราช น้องอ้อ บีเอนบีทัวร์ เทศน์สดโดยท่านชิน
กัณฑ์ที่12 ฉกษัตรย์
กัณฑ์ที่13 นครกัณฑ์
ขออนุโมทนา สาธุการกับทุกๆท่านครับ
 ลุงสัน


เป็น email มาที่พระอาจารย์ ใครสนใจไปฟัง ไปร่วมกับกลุ่มลุงสัน ก็เชิญนะจ๊ะ
5058  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / อานาปานสติ ย่อมเป็นไปได้ชั่วขณะ เพราะเหตุ ระงับ นิวรณ์ 8 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 11:49:50 am
ข้อความที่ [365 - 366]

ก็แลเมื่อพระโยคาวจรผู้มีจิตหมดจดจากนิวรณ์เหล่านี้ เจริญสมาธิอันปฏิสังยุตด้วยอานาปาณสติมีวัตถุ ๑๖ ความที่จิตตั้งมั่นเป็นไปชั่วขณะย่อมมีได้ ฯ

เพราะเหตุที่ระงับ นิวรณ์ 8 ประการได้ จึงทำให้มีจิตเป็น สมาธิ แต่เป็นเพียงชั่วขณะ เท่านั้น

ความละเอียดของ อานาปานสติ ที่มากกว่าชั่วขณะมีอยู่อีก

5059  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / นิวรณ์ 8 ประการ เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 11:38:50 am
จิตที่ฟุ้งซ่าน คือ จิต ตกเป็นข้างฝ่ายนิวรณ์ 8 ประการ

 อันประกอบด้วย การระคนด้วยจิต ย้อมจิต ปะปนด้วยจิต ที่เป็นอกุศลธรรม ทั้งปวง นิวรณ์ 8 เป็นสิ่งที่ต้องระงับ

ก่อนปฏิบัติ อานาปานสติ เพราะหากมีอยู่ก็ไม่สามารถที่เจริญ พระอานาปานสติได้

บางท่านเข้าใจว่า ระงับด้วย ฌาน ระงับ ด้วยการภาวนา

แต่ นิวรณ์ 8 ข้างต้น สามารถระงับได้ ด้วยการตั้งจิต เป็นสัมมาทิฏฐิ คือเห็นถูกต้อง สัมมาสังกัปปะ อธิษฐาน

จิตได้อย่างถูกต้อง

  ถ้าพิจารณา วิสัชชนา ให้เข้าใจ ง่าย ๆ ไม่ใช่เป็นการระงับ นิวรณ์ ด้วย ฌาน การกล่าวเช่นนี้ กล่าวแบบ

พราหมณ์  กล่าวแบบพระสุคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว สามารถระงับได้ก่อน ที่เป็น ฌาน ส่วนนี้จึงเป็น

ส่วนที่ดำเนินในแนว วิปัสสก ดังนั้นการเจริญด้วยอานาปานสติ จึงเป็น ผลสมาบัต ขั้นต่ำ เป็น อเนญชาสมาบัติ

ขั้นสูง อันประกอบด้วย นิโรธสมาบัติ สัญญาเวทยิตนิโรธ อเนญชาสมาบัติ เจโตสมาธิอนิมิต ดังนั้นถึงจะเป็น

ฝ่ายเจโตวิมุตติ ก็ต้องเริ่มต้นเหมือนกันกับ วิปัสสก จะไปแตกต่างช่วงของ ญาณด้านปลายเท่านั้น

 โดยการปฏิบัติให้ตรงข้าม ดังนั้น ความเห็นที่ถูกต้อง และ การอธิษฐาน เป็นสิ่งที่ต้องมาก่อน

ยกตัวอย่าง

 1.กามฉันทะ คือ ความพอใจ ใน รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณ์
   
     เมื่อปุุถุชนเห็นผิด ก็จะติดในข่าย ไม่เห็นความหน่าย ความจางคลาย ไปได้

   ดังนั้น ธรรมะ คู่ปรับ ก็คือ เนกขัมมะวิตก คือ ความตั้งใจสลัดออก จากกามคุณ

   ถามว่า เห็นโทษของกามคุณ หรือ ก็ตอบว่ายัง เพียงแต่รู้ว่า กามคุณ เป็นเหตุแห่งตัณหา

   ดังนั้น เนกขัมมะ ก็คือการถือ บวช ด้วย ศีล มีข้อห้าม ซึ่งจะระงับได้ นิวรณ์ ด้วยการอธิษฐาน

  ความตั้งใจใน การออกบวช อย่างนี้ ซึ่งเมื่อทำบ่อย ๆ กามฉันทะ ก็จักเบาบางลง และ สงบ ไปชั่วคราว

  จนกว่าจะได้บรรลุเป็น พระอรหันต์ ดังนี้เป็นต้น

  ดังนั้น นิวรณ์ 8 นั้น ดับได้ด้วย ธรรมะ อันเป็นปฏิปักษ์ ตรงกันข้าม ไม่ใช่ดับด้วย ฌาน หรือ อำนาจ สมาธิ

แต่ที่จริง เป็นการเจริญ อานาปานสติ ในแนวพระพุทธศาสนา มิฉะนั้น ก็จะเป็นการปฏิบัติ อานาปานสติ นอก

พุุทธศาสนา

   ดังนั้น จิตทีั่ฟุ้งซ่าน ย่อมประกอบ ด้วยนิวรณ์ 8 ยังไม่พร้อมที่จะปฏิบัติ อานาปานสติ

   ส่วนที่ จิตที่สงบระงับ ย่อมประกอบ ด้วยธรรม 8 ประการ ย่อมพร้อมที่จะเจริญภาวนา อานาปานสติ


ดังนั้นในส่วนนี้ ถือว่าเป็นส่วนพื้น ฐานในการเตรียมตัว

  หากจิตฟุ้งซ่าน ย่อมไม่สามารถ กำหนด ลมหายใจเข้า และ ออกได้ เป็นดั่งเช่นที่ท่านทั้งหลาย เคยฝึกกัน

มาเยี่ยงนั้น แบบนั้น เพราะมุ่งจะฝึก ก็อยู่ในข่าย อุปกิเลส คือ ความเพียรที่มากหรือกล้า เกินไป ก็ไม่สามารถ

สำเร็จ ในพระอานาปานสติ ได้

  หากจิตสงบระงับ ก็จะสามารถ กำหนด นิมิต ลมหายใจเข้า และ ลมหายใจออกได้ ทั้ง 3 ประการ

ดังนั้นขอให้ท่านทั้งหลาย ศึกษาและจดจำ ในส่วนของ ธรรม เป็นปฏิปักษ์กับนิวรณ์เสียก่อน อย่างพึ่งมุ่งไปรู้

ขั้นตอนส่วนใน กำจัดนิวรณ์ เหล่านั้นให้สงบ

  จะเห็นว่า กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ จัดเตรียมจิต ท่านผู้ปฏิบัติมาพร้อมแล้ว ในห้อง พระพุทธานุสสติ

ย่อมระงับนิวรณ์ ด้วยปัญญา อันเกิดแต่องค์สมาธิ  ในระดับ อุปจาระฌาน แล้ว ความพร้อมของผู้ฝึก ในส่วน

นี้จึงมีมากกว่า ผู้มาฝึกอานาปานสติ โดยตรง


  เนื่องด้วย อานาปานสติ เป็น กรรมฐาน สำหรับจริต วิตกจริต และ โมหะจริต โดยตรง ถ้าผู้มีวิตกเช่นนี้

ก็จะสามารถฝึกได้เข้าใจก่อน ส่วนผู้ไม่มีจริตตรงนี้ ถ้าเคารพในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ก็จะเห็น

ว่า ไม่สามารถ จะฝึกได้ดังนั้น องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์จึงตรัสกรรมฐาน สนับสนุนเบื้องต้น

เรียกว่า อนุสสติ บ้่าง กายคตาสติ สนับสนุนองค์กรรมฐาน จึงทำให้จริต อื่น ๆ นั้นสามารถ ฝึกอานาปานสติ

ได้ ดังนั้นขอให้ท่านผู้ฝึกอย่ารีบร้อน ที่จะเดินในขั้น สโตริกาญาณ แต่ของให้ สร้างธรรมะ อันเป็นปฏิปักษ์

แก่ นิวรณ์ ทั้ง 8 ก่อน

 ;)
 

Aeva Debug: 0.0005 seconds.
5060  กรรมฐาน มัชฌิมา / ธรรมะสัญจร / เส้นทาง ธรรมสัญจร ลพบุรี เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 10:22:51 am
ส่วนนี้เป็นเส้นทาง ที่จะไปในสาย ลพบุรี



หลวงปู่หิน อาโสโก วัดหนองนา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
หลวงพ่อเจริญ ติสสวัณโณ วัดเขาวงกต ต.สนามแจง อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
หลวงพ่อคง วัดเขาสมโภชน์ จ.ลพบุรี
หลวงพ่อบุญมี วัดเขาสมอคอน จ.ลพบุรี
หลวงปู่คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ อ.เมือง จ.ลพบุรี
หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู จ.ลพบุรี
หลวงพ่อบุญเหลือ วัดเขาตะกร้าทอง ลพบุรี


บอกวัด และ ชื่อไว้ เผื่อใครมีบุญจะไปเอง แล้วก็กลับมาเล่าใหฟังด้วย

ต้องการจังหวัดไหน บอกมา
5061  กรรมฐาน มัชฌิมา / ธรรมะสัญจร / เส้นทาง ธรรมสัญจร อยุธยา เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 10:19:03 am
ส่วนนี้ก็เป็นเส้นทางที่จะไปในสาย อยุธยา





หลวงพ่อปู่โหน่ง วัดคลองมะดัน (วัดอัมพวัน) อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณ
หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค อ.เสนา จ.อยุธยา
หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย ต.บางนมโค อ.เสนา จ.อยุธยา
หลวงปู่สุด วัดโพธิ์แดงใต้ อยุธยา อ.บางไทร จ.อยุธยา
หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ  ตําบลบานกรด อําเภอบางปะอิน จ.อยุธยา
หลวงพ่อชื้น วัดญาณเสน จ.อยุธยา ต.ท่าวาสุกรี อ.พระนครศรีอยุธยา
หลวงพ่อเมี้ยน วัดโพธิ์กบเจา อยุธยา
หลวงปู่เทียม วัดกษัตร อยุธยา
หลวงปู่ทิม วัดพระขาว ตำบลน้ำเต้า อำเภอบางบาล อยุธยา

ก็รอเป็นโปรแกรมต่อไป ที่ ต้องการให้คณะศิษย์ ได้ไปกราบไหว้บาง

5062  กรรมฐาน มัชฌิมา / ธรรมะสัญจร / เส้นทาง ธรรมสัญจร กรุงเทพมหานคร เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 10:13:07 am
สอบถามกันมาว่า พระอาจารย์จะจัดธรรมสัญจร ไหว้พระเถระ ที่ล่วงลับไปแล้วและทิ้งสังขาร
ไว้ ไม่เน่าเปื่อย มีอาการแตกต่างกันไป

1.หลวงพ่อสด วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ( คณะเคยไปมาแล้วอาจจะตัดได้ )
2.หลวงปู่นพ ภูวริ วัดมหาพฤฒาราม บางรัก กรุงเทพฯ
3.พระอาจารย์โพธิ์แจ้ง วัดโพธิ์แมน กรุงเทพฯ ถนนสาธุประดิษฐ์ ซอย19 (ซอยวัดโพธิ์แมน) เขตยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 02-2112363
4.หลวงพ่อวงศ์ วัดปริวาส กรุงเทพฯ พระราม3 ซอย30 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา  กทม.
5.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กทม. ( คณะเคยไปมาแล้วอาจจะตัดได้  )
6.หลวงพ่อผล วัดเซิงหวาย เตาปูน กทม.
7.หลวงพ่อสร้อย วัดเลียบราษฎร์บำรุง วงศ์สว่าง กทม.
8.หลวงปู่แสวง วัดสว่างภพ ต.คลองสี่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
9หลวงปู่สาย วัดบางรักใหญ่ บางกรวย-ไทรน้อย (บางรักใหญ่) บางรักใหญ่ บางบัวทอง นนทบุรี
10.หลวงปู่เมฆ วัดลำกระดาน นนทบุรี สามวาตะวันออก คลองสามวา กรุงเทพฯ
11.หลวงปู่ชื่น อคิชาคโล วัดเขาหัวนา อ.บ้านนา จ.นครนายก

แต่เส้นทาง โดดข้ามไปมา ทำให้พระอาจารย์ กำหนดเส้นทางให้ครบในรอบเดียวไม่ได้
ใครชำนาญเส้นทาง ลองช่วยกำหนดให้หน่อยว่าจะเริ่มไปอย่างไร จึงจะครบในวันเดียว

ที่พระอาจารย์ กำหนดไว้ คือ

11. => 8 => 10 => 9 => 6 => 7 => 4 => 3 => 2

ใครชำนาญเส้นทางก็ช่วยกำหนดด้วย
คิดว่าถ้าเป็นไปได้ ค่ารถก็จะไม่เกิน คนละ 400 บาท รถตู้
5063  เรื่องทั่วไป / ข่าวสารเพื่อนถึงเพื่อน / Re: วันธงไชย ในปี 2553 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 09:04:56 am
วันที่ 12 ส.ค.2553 ก็ถือว่าเป็นวันธงไชย ของบุตร ทุกคนด้วยนะ

สาธุ สาูธุ สาธุ

ความกตัญญู เป็นเครื่องหมายของคนดี

 ;) ;)
5064  กรรมฐาน มัชฌิมา / กิจกรรมของ สนง.ส่งเสริมพระกรรมฐาน / Re: RDN ( Radio net online ) ทดสอบสถานีวิทยุ มัชฌิมา อาร์ดีเอ็น เมื่อ: สิงหาคม 12, 2010, 09:03:16 am
สาธุ
 :25:
5065  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ผู้หญิง ที่เป็น เลสเบี้ยน เกิดจากการสร้าง กรรม อะไรครับ เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:52:33 pm
เกิดจากอุปนิสัย จากชาติก่อน ผู้ชาย ขอเกิดเป็นผู้หญิง ผู้หญิงขอเกิดเป็นผู้ชาย ดังนั้น เมื่อเกิดเพศใดไม่ควร

อธิษฐานขอเปลี่ยนเพศ เพราะอุปนิสัย ถูกสั่งสมมาทุกชาติอย่างนี้ ซึ่งทางธรรมเรียกว่า จริต อีกอย่าง

 :25:
5066  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ทำไม พระพุทธรูป ต้องมียอดแหลม บนพระเศียร เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:46:28 pm
คติธรรม กับ สัญลักษณ์ของพระพุทธรูป สั้น ๆ นะ


1.เปลวปัญญา บนเศียร พระัพุทธรูป หมายถึง พระปััญญา่ธิคุณ ของพระพุทธเ้จ้า

   ที่แทงปัญหา 108 พันประการ ที่ทำสัญลักษณ์ เป็นเส้นผมก้นหอย

   :25:
5067  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: สรรพนาม ที่ใช้เรีียก พระ สงฆ์ ที่ถูกต้อง เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:41:15 pm
อุบาสก อุบาสิกา ทุกคนควรใช้สรรพนาม ตนเองว่า โยม เป็นหลัก

พระ ก็ควรใช้่สรรพนามแบบท่าน ว่า หลวงพ่อ หลวงพี่ หลวงตา หลวงปู่ เป็นต้น

ส่วนพระ ใช้สรรพนามแทนตนเองว่า อาตมา เป็นต้น

เรียก อุบาสก อุบาสิกา ว่า โยม เป็นหลัก
5068  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: มีแฟนเป็น พระ บาป หรือป่าว คะ เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:34:49 pm
บาป หมายถึงความเศร้าหมองแห่งจิต ในปัจจุบัน

บาป หมายถึง ผลแห่งอกุศลกรรมที่จะต้องได้รับในเวลาต่อไป

ดังนั้น ถ้าถามว่ามีแฟนเป็นพระ บาปหรือป่าว

ก็ตอบว่า โดย พฤตินัย นั้นพระไม่มีแฟน นะจ๊ะ

แต่ด้วยการ อุปสมบถ ของผู้เป็นชาวศาสนิกชน โดยเฉพาะคนไทย

พ่อ แม่ ที่มีบุตรชาย ก็ต้องการเห็นชายผ้าเหลืองของลูก เมื่อถึงวัย อุปสมบท ก่อนที่ไปมีครอบครัว

ซึ่ง ประเพณีคือความเป็นห่วง ในการครองเรื่อน เพื่อให้ผู้ชาย ที่อุปสมบถนั้น ได้ศึกษาหลักธรรม

เพื่อไว้ครองเรื่อน

เนื่องด้วย การอุปสมบถ ด้วยประเพณี ก็จะทำให้ผู้ อุปสมบถ นั้นไม่่ได้มุ่งหวังเพื่อจะเป็นพระอริยะ

ดังนั้นจึงเห็นว่า จะัมีการบวช 1 วัน 2 วัน 3 วัน 7 วัน 1 เดือน 1 พรรษา ( 3 เืดือน ) เป็นต้น

ดังนั้น ถือว่าผู้บวชด้วย การอุปสมบท 3 เดือน มีกำลังใจมาก เพราะน้อยคนที่จะัอาศัยการอุปสมบถ อย่างนี้

ดังนั้น ก็เป็นโอกาส ในการศึกษา หลักธรรม โดยเฉพาะ นักธรรมชั้นตรี ก็มีการเรียนหลักธรรมพื้นฐาน

อันจำเป็น แก่ผู้ครองเรือน

ดังนั้น ก็ขอตอบปัญหาแรกก่อนว่า มีแฟน ที่กำลังเข้าไปบวชเป็น พระ นั้น ไม่บาป



แต่เหตุ ที่จะบาป ก็คือการไม่ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัย

ดังนั้น ทั้ง 3 ฝ่าย คือ พระผู้บวช อุบาสิกาที่หมายหมั้นไว้ คุณพ่อ คุณแม่ ทั้งสองฝ่าย

ก็ต้องประคับประคอง ให้ บุตร หลาน ตนเอง ได้สำเร็จกิจแห่งบุญกุศล

ดังนั้นก็เป็นหน้าที่ ของพระอุปัชฌาย์ ส่วนหนึ่ง ที่ต้องเป็นธุระ อบรมในหลักธรรม และ กรรมฐาน ด้วย

ถ้าไป บวชในสถานที่ไม่มี ครูอาจารย์ แล้วโอกาสที่จะสำเร็จในบุญกุศล มีน้อยมาก

ดังนั้น อุบาสิกา ก็ไม่ควรจะติดต่อ กับ ผู้บวชบ่อย ห่างกัน เสียบ้าง เป็นการพิสูจน์ ความแข็งแกร่งแห่งจิต

เพราะชีวิตคู่นั้น ลำบากกันมากกว่านี้ อีก บางคนต้องไปทำงานต่างจังหวัด ต่างประเทศ ยิ่งกว่าการจากแค่

3 เดือน ดังนั้นปล่อยให้ พระ ท่านศึกษาหลักธรรมบ้าง โทรศัพท์ ก็ควรจะงดการโทรลงบ้าง ไม่ต้องโทรมา

ทุกวัน บอกท่านว่า เป็นพระก็สำรวมด้วย ฝึกฝนตนเองหน่อย

 :25:
5069  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: การระงับความโกรธ แบบปัจจุบัน ที่ได้ผล เมื่อ: สิงหาคม 08, 2010, 10:22:22 pm
สำหรับ บุคคลปุถุชชน นั้นการที่ได้รับความอับอาย ย่อมมีความโกรธ กับผู้เหยียดหยาม

การระงับความโกรธเป็นไปไม่ได้ สำหรับผู้ที่เป็นปุถุชน ที่สติยังพร่อง

ดังนั้น จะมีความเป็นไปได้ต้องมีการฝึกฝน กรรมฐาน

ความโกรธของปุถุชนนั้น เหมือน กองไฟ ราดน้ำมัน

โดยพื้นฐาน ปุถุชน จะระงับความโกรธ ด้วย อาการสงบ ถึงแม้ในใจจะุคุกรุ่นด้วยเพลิงแค้น

แต่หลังจากผ่านเหตุการณ์เฉพาะหน้าในส่วนนั้นแล้ว ก็ควรจะสลายด้วยการแผ่เมตตาพื้นฐาน

ขอให้ตนเองมีความสุข ขอให้ตนเองมีความสุข ขอให้ตนเองมีความสุข ควรทำก่อนเป็นอันดับแรก


สำหรับ พระโยคาวจร นั้นเมื่อได้รับการท้าทาย ด้วยความโกรธ ก็จะติดดับ เหมือน ไฟตะเกียง จะลดจะดับได้

ด้วยการลดเชื้อ แต่ก็มีสิทธิ์ โหมขึ้นอยู่ เพราะยังอยู่ในช่วงฝึกฝน

เพราะมีการฝึกฝนปฏิบัติ ในจิตแล้วพอสมควรด้วย กรรมฐาน ต่าง ๆ ด้วยเหตุที่จิต เป็นสมาธิ บ้างแล้ว

ด้วยเหตุของ ศีล และ  ปัญญา


ความโกรธของ พระโสดาบัน นั้นเหมือน ดวงเทียน คือแผ่ว ๆ หวั่นไหว ตามแรงลม ติด ๆ ดับ ๆ

ดังนั้น เพราะอำนาจการภาวนา เข้าถึงการละสังโยชน์ 3 ประการได้ จึงเป็นเหตุให้ ความโกรธนั้น ดับได้

ด้วยการภาวนา อย่างรวดเร็ว



ความโกรธ ของ พระสกทาคามี นั้นเหมือน ถ่านไฟใกล้หมอด ในกองขี้เถ้า อันปราศจากเชื้อ ถึงจะโกรธ

ก็แค่ความขัดเคือง ชั่ววูบ แต่ไม่สร้างกรรม กับผู้ใด คงเหลือ แต่ใจที่ต้องภาวนาให้มอดตาม



ความโกรธ ของ พระอนาคามี นั้นไม่มีแล้วเหมือน ไฟที่มอดหมดเชื้อ เพราะอำนาจภาวนา เพราะสิ้นสังโยชน์

ทั้ง 5 ประการ


ดังนั้น ในระดับ ชั้นปุถุชน ก็คงต้องเริ่มจากการนับ 1 ให้ถึง 1000

วิธีการที่จะให้สติ ทรงอยู่ไม่ไปตามอำนาจของความโกรธ

หมั่น ระลึกถึง พระพุทธพจน์ของว่า  ฆ่าความโกรธ เสียได้ ย่อมอยู่เป็นสุข

                                      สุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบ นั้นไม่มี

ดังนั้นถ้าจะถามว่าวิธีระงับความโกรธ อย่างปัจจุบันแล้ว ก็คงต้องมีสติ พื้นฐาน คือตามระลึก

ถึง ศีล เป็นหลัก เพื่อไม่เติมเชื้อ เติมไฟ ของอำนาจโทสะ เข้าไปใส่ตัว


1    2  3  4   5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19 20

ผนวกลมหายใจเข้า และ ออก นับ 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10

ผนวก พุทโธ เข้า และ ออก กับลมหายใจ  1 2  3 4 5 6 7 8 9 10

ผนวก สติ ไปในฐานจิต

ผนวก สัมปชัญญะ ในฐานจิต

ผนวก ปัญญา เห็นจริง ในกฏแห่งกรรม มี ปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น

ขั้นตอนก็มีเท่านี้ นะ แต่ก็คงนึกว่าทำยาก



ดังนั้นแนะนำเพิ่มในสถานการณ์

1. มีสติ กำหนดนับ 1 ถึง 1000

2. เมื่อมีสติ นับแล้ว ให้ออกจาก สถานที่มีความโกรธ

3. เมื่อออกแล้ว ก็แผ่เมตตา ให้กับตัวเอง มีความสุข

4. เมื่อแผ่เมตตา ให้กับตนเองแล้ว ก็ให้แผ่เมตตาให้กับมาร คือ ความโกรธ ด้วย

5. เมื่อแผ่เมตตาให้กับ มาร คือ ความโกรธ แล้ว ก็มาตามดูลมหายใจ เข้า และ ออก

เท่านี้ก็น่าจะพอกับ สภาวะที่มีความสุข ในขณะนั้นได้

ถึงแม้ปัญหา ที่เป็นเหตุแห่งความโกรธ จะยังไม่หมด เพราะเมื่อเราเข้าไปอีก กับ มาอีก จนกระทั่งใจเรา

พ้ฒนาสู่ความเข้มแข็ง ได้ในที่สุด

เพราะแท้ที่จริง แล้ว เราก็จักมองเห็นตามความเป็นจริง ว่า โกรธเขา เราก็ตาย ไม่โกรธ เราก็ตาย

เมื่อความตายมีอยู่กับ เราก็จะเข้าใจได้ว่า จะโกรธเขา หรือ ไม่โกรธ ดี นะ

 :25:
5070  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: พระเข้าพรรษาแล้ว เิดินทางไปไหนได้หรือป่าวครับ เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 05:15:28 pm
พระเข้าพรรษาแล้วเดินทางไปไหน มาไหนได้

แต่ต้องกลับมาจำวัด มานอน มานั่ง มาอยู่ ในราตรี ก่อนอรุณ ได้

แต่ถ้ามีความจำเป็นต้องเดินทางไกล ก็ให้ทำการลา เป็นกิจลักษณะ ไปค้างได้ 6 คืน ต้องกลับมาให้ในราตรีที่ 7

เหตุแห่งการไป เรียกว่าไปเพราะความจำเป็น



เขียนให้เข้าใจ สำหรับเด็ก ก็เท่านี้นะจ๊ะ
5071  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / หลักธรรมในพระพุทธศาสนานั้น ลองเทียบเคียงดูก่อน เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 05:12:59 pm
ก่อนจะคิดเปลี่ยนนั้น

พระอาจารย์เข้าใจในสภาพ ของภาคเหนือดี ว่าส่วนใหญ่ คริสตจักร นั้นจะเข้าไปสนับสนุน ทั้งชาวเขา ชาวดอย

ชาวบ้านที่ยากจน ด้วยกองทุน ซึ่งต่างจากพระในพุทธศาสนานั้น จะเป็นฝ่ายรับ ทักษิณาทาน ส่วนที่รับนั้นก็ถูก

เจาะจงไว้ให้ทำอย่างนั้น อย่างนี้ พระเพียงรับไว้แล้วก็จัดทำตามเจตน์จำนงผู้บริจาค วัดในภาคเหนือไม่ไ้ด้มั่งคั่ง

กันทุกวัด พระอาจารย์ไปบางวัด พระแทบจะไม่มีฉันด้วยซ้ำไป ที่มั่งคั่งก็จะอยู่ในเมือง

เด็กภาคเหนือ จะว่าได้รับการอนุเคราะห์ โดยพระพุทธศาสนาก็มีมาก เช่นชาวเขามาบวชเรียน วัดโสดา เชียงใหม่ เรียนทางโลก ไม่ใช่ทางธรรม ก็มาก

เอาเป็นว่า ศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ เป็นอันดับแรก ส่วนที่พึ่งทางกาย นั้นต้องดูเหตุปัจจัย และเหตุผล

การจะนับถือศาสนานั้น กี่ศาสนาก็ได้ ถ้าศาสนานั้นเป็นไปเพื่อการสิ้นสุดแห่งสังสารวัฏฏ์

แต่การกล่าวตนเป็น พุทธมามกะ แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนศาสนา เพราะความอดอยาก ยากแค้น ถ้าเราเปลี่ยน

เพราะเหตุผล แบบนี้ แสดงว่าไม่เห็นคุณค่าของตนเอง คือไม่เห็นธรรมะ ในใจของตน

ว่าสิ่งที่เราต้องการจริง นั้นคืออะไร

การเปลี่ยนศาสนา เพราะเหตุ แห่ง การช่วยเหลือ การศึกษา ความอดอยาก เหล่านี้ไม่ต่างอะไรกับ สส. ที่ซื้อ

ซื้อเสียง เพราะไม่ได้เกิดจากศรัทธา ที่แท้จริง ย่อมทำให้ไม่ถึง อุตมปัญญา ได้





พระอาจารย์ไม่สนับสนุนการเปลี่ยนศาสนา เพราะด้วยเรื่องการได้วัตถุ

5072  เรื่องทั่วไป / ส่งจิตออกนอก (นั่งเล่นคุยกัน) / Re: ยืนไหว้พระ กับ นั่งไหว้พระ อันไหนถูกต้องคะ เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 05:01:02 pm
แล้วแต่สถานการณ์ นะจ๊ะ ให้งามในเมืองควรจะยืนไหว้ เพราะ พระอาจารย์ เห็นแล้ว ประสพด้วยตนเอง คือ

นั่งไหว้แล้ว เดินผ่านลำบาก ฟุตบาทปัจจุบันจะแคบ

ถ้าเป็นชนบท นั่งไหว้ก็ดี

แต่ปัจจุบันจริง ๆ แล้ว พระอาจารย์ไม่ค่อยเห็นเด็กไหว้พระ หรอก โดนเฉพาะพวกวัยรุ่นตั้งแต่ ม 1 ขึ้นไป

แทบจะเดินชนพระกันเลยในสมัยนี้



ก็อนุโมทนาด้วยกับ ความอ่อนน้อม เรียกว่ามีพระในใจ และแสดงออกทางกาย

มีบุญ ทำเถิด ๆ อนุโมทนาด้วย และ ไม่ต้องไปเถียงกันอีก

 :25:
5073  เรื่องทั่วไป / ข่าวสารเพื่อนถึงเพื่อน / ขอเชิญชวนทำบุญภาพวาดในพระอุโบสถ วัดถ้านาราย์ ( เขาวง ) เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2010, 04:53:47 pm
ข้อความจากเมล์ มาก็ลงให้แล้วนะ เพราะเห็นว่า วัดนี้อยู่ใกล้ ๆ วัดแก่งขนุน



ขอเชิญสาธุชนผู้มีจิตศรัทธาทุกท่านร่วมทำบุญค่าภาพวาดใน
 
พระอุโบสถวัดเขาวง (ถ้ำนารายณ์) ซึ่งวาดโดยอาจารย์คำนวณ ชานันโท ผู้วาดภาพในวิหารเซียน
 
ภาพที่วาดและตกแต่งในพระอุโบสถมีทั้งสิ้น 6 ภาพ 

ภาพที่พวกเราร่วมเป็นเจ้าภาพ เป็นภาพวันมาฆบูชา ค่ะ
 
หากต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ 087-6198791 ค่ะ

Aeva Debug: 0.0004 seconds.
5074  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / Re: บทนำของ โพชฌงคปริต นั้น สามารถต่อชีวิตได้หรือไม่ เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 11:56:53 pm
สุตฺต ส?. มหาวารวคฺโค - หน้าที่ 116
[๔๒๕] เอก? สมย? ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิวาเป ฯ 
เตน    โข    ปน    สมเยน   ภควา   อาพาธิโก   โหติ   ทุกฺขิโต 
พาฬฺหคิลาโน ฯ 
     [๔๒๖]  อถ  โข  อายสฺมา  มหาจุนฺโท  เยน  ภควา เตนุปสงฺกมิ 
อุปสงฺกมิตฺวา   ภควนฺต?   อภิวาเทตฺวา   เอกมนฺต?   นิสีทิ  ฯ  เอกมนฺต? 
นิสินฺน?    โข    อายสฺมนฺต?   มหาจุนฺท?   ภควา   เอตทโวจ   ปฏิภนฺตุ 
ต?   จุนฺท   โพชฺฌงฺคาติ   ฯ   สตฺติเม   ภนฺเต   โพชฺฌงฺคา   ภควตา 
สมฺมทกฺขาตา   ภาวิตา   พหุลีกตา   อภิ?ฺ?าย   สมฺโพธาย   นิพฺพานาย 
ส?วตฺตนฺติ ฯ กตเม สตฺต ฯ
     [๔๒๗]   สติสมฺโพชฺฌงฺโค   โข   ภนฺเต   ภควตา  สมฺมทกฺขาโต 
ภาวิโต   พหุลีกโต   อภิ?ฺ?าย   สมฺโพธาย  นิพฺพานาย  ส?วตฺตติ  ฯเปฯ 
อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโค   โข   ภนฺเต   ภควตา   สมฺมทกฺขาโต   ภาวิโต 
พหุลีกโต   อภิ?ฺ?าย   สมฺโพธาย   นิพฺพานาย   ส?วตฺตติ  ฯ  อิเม  โข 
ภนฺเต   สตฺต   โพชฺฌงฺคา   ภควตา   สมฺมทกฺขาตา  ภาวิตา  พหุลีกตา 
อภิ?ฺ?าย สมฺโพธาย นิพฺพานาย ส?วตฺตนฺตีติ ฯ   
     [๔๒๘]   ตคฺฆ   จุนฺท   โพชฺฌงฺคา  ตคฺฆ  จุนฺท  โพชฺฌงฺคาติ  ฯ 
อิทมโวจายสฺมา   มหาจุนฺโท  ๑  สมนุ?ฺโ?  สตฺถา  อโหสิ  ฯ  วุฏฺ?าหิ 
จ   ภควา  ตมฺหา  อาพาธา  ตถา  ปหีโน  จ  ภควโต  โส  อาพาโธ 
อโหสีติ ฯ 

คำแปล
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค - หน้าที่ 109
      [๔๒๕] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน       
ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคทรงประชวร ไม่สบาย เป็นไข้หนัก.           
        [๔๒๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาจุนทะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคม   
พระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระจุนทะว่า
ดูกรจุนทะ โพชฌงค์จงแจ่มแจ้งกะเธอ. 
     จ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โพชฌงค์ ๗ เหล่านี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อัน   
บุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน               
โพชฌงค์ ๗ เป็นไฉน?               
        [๔๒๗] ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สติสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว         
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน             
ฯลฯ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้     
มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
โพชฌงค์ ๗ เหล่านี้แล พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว 
ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน.           
        [๔๒๘] ดูกรจุนทะ โพชฌงค์ดีนัก ดูกรจุนทะ โพชฌงค์ดีนัก ท่านพระมหาจุนทะ             
ได้กล่าวไวยากรณภาษิตนี้แล้ว พระศาสดาทรงพอพระทัย พระผู้มีพระภาคทรงหายจากประชวรนั้น   
และอาพาธนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงละแล้ว ด้วยประการฉะนี้แล.         
                           จบ สูตรที่ ๖
 สุตฺต ส. มหาวารวคฺโค - หน้าที่ 395

โพชฌงค์สูตร
๑๓๐๗]   อานาปานสฺสติ   ภิกฺขเว  ภาวิตา  พหุลีกตา  มหปฺผลา 
โหติ มหานิสสา ฯ 
     [๑๓๐๘]  กถ  ภาวิตา  จ  ภิกฺขเว  อานาปานสฺสติ  กถ พหุลีกตา 
มหปฺผลา  โหติ  มหานิสสา  ฯ  อิธ  ภิกฺขเว  ภิกฺขุ  อานาปานสฺสติสหคต 
สติสมฺโพชฺฌงฺค    ภาเวติ    วิเวกนิสฺสิต    วิราคนิสฺสิต    นิโรธนิสฺสิต 
โวสฺสคฺคปริณามึ    ฯ    อานาปานสฺสติสหคต   ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค   ฯ 
วิริย   ปีติ   ปสฺสทฺธิ   สมาธิ  อานาปานสฺสติสหคต  อุเปกฺขา-
สมฺโพชฺฌงฺค  ภาเวติ   วิเวกนิสฺสิต   วิราคนิสฺสิต   นิโรธนิสฺสิต   โวสฺสคฺค-
ปริณามึ  ฯ  เอว    ภาวิตา    โข    ภิกฺขเว   อานาปานสฺสติ   เอว   พหุลีกตา 
มหปฺผลา โหติ มหานิสสาติ ฯ 



โพชฌงค์สูตร ทุกสูตร ที่อ่านล้วนแล้ว มีิวิธีปฏิบัติ ที่อานาปานสติ เป็นหลัก

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า มีวิธีการเดินจิต ในกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำดับ เดินโพชฌงค์ ทั้ง 7 ตามจิต

โปรดอ่านหนังสือ กรรมฐานแก้กรรมรักษาโรค ของ พระครูสิทธิสังวร เพิ่มเิติม
5075  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / บทนำของ โพชฌงคปริต นั้น สามารถต่อชีวิตได้หรือไม่ เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 11:16:53 pm
ความเชื่อของบุคคลที่ได้รับฟังมาว่า

ถ้าได้สวดบท โพชฌงค์ แล้ว จะทำให้หายป่วย และ ต่อชีิวิตได้หรือ

มีผู้่สอบถามทางเมล์ เห็นว่ามีประโยชน์ จึงนำมาตอบในนี้ด้วย




                                        โพชฌังคะปะริตตัง
                โพชฌังโค  สะติสังขาโต               ธัมมานัง  วิจะโย  ตะถา
        วิริยัมปีติปัสสัทธิ-                                 โพชฌังคา  จะ  ตะถาปะเร
        สะมาธุเปกขะโพชฌังคา                       สัตเตเต  สัพพะทัสสินา
        มุนินา  สัมมะทักขาตา                          ภาวิตา  พะหุลีกะตา
        สังวัตตันติ  อะภิญญายะ                       นิพพานายะ  จะ  โพธิยา
        เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ                         โสตถิ  เต โหตุ  สัพพะทา ฯ
                เอกัสมิง  สะมะเย  นาโถ                โมคคัลลานัญจะ  กัสสะปัง
        คิลาเน  ทุกขิเต  ทิสเว                           โพชฌังเค  สัตตะ  เทสะยิ
        เต  จะ  ตัง  อะภินันทิตา                        โรคา  มุจจิงสุ  ตังขะเณ
        เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ                         โสตถิ  เต โหตุ  สัพพะทา ฯ
                เอกะทา  ธัมมะราชาปิ                   เคลัญเญนาภิปีฬิโต
        จุนทัตเถเรนะ  ตัญเญวะ                       ภะณาเปตวานะ  สาทะรัง
        สัมโมทิตวา  จะ  อาพาธา                      ตัมหา  วุฏฐาสิ  ฐานะโส
        เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ                         โสตถิ เต  โหตุ  สัพพะทา ฯ
                ปะหีนา  เต จะ  อาพาธา                ติณณันนัมปิ  มะเหสินัง
        มัคคาหะตะกิเลสา  วะ                           ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง
        เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ                          โสตถิ เต  โหตุ  สัพพะทา ฯ



บทแปล -
 
    โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค์  วิริยะสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์  และอุเบกขาสัมโพชฌงค์ ๗ ประการเหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้า  ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทำให้มากแล้ว  ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ และเพื่อนิพพาน
   
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน  ตลอดกาลทุกเมื่อ ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ  และพระมหากัสสปะเป็นไข้ ได้รับความลำบาก จึงทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ  ให้ท่านทั้งสองฟัง ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชมยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌงคธรรม  โรคก็หายได้ในบัดดล
 
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน  ตลอดกาลทุกเมื่อ ในครั้งหนึ่ง องค์พระธรรมราชาเอง (พระพุทธเจ้า)  ทรงประชวรเป็นไข้หนัก รับสั่งให้พระจุนทะเถระ  กล่าวโพชฌงค์นั้นนั่นแลถวายโดยเคารพ ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย  หายจากพระประชวรนั้นได้โดยพลัน
 
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน  ตลอดกาลทุกเมื่อ ก็อาพาธทั้งหลายนั้น ของพระผู้ทรงคุณอันยิ่งใหญ่ทั้ง ๓  องค์นั้น หายแล้วไม่กลับเป็นอีก ดุจดังกิเลส ถูกอริยมรรคกำจัดเสียแล้ว  ถึงซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี  จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ เทอญ.





บทสวดบทนี้ พอได้อ่านคำแปล แล้วก็เพียงทราบว่า พระพุทธองค์ เป็นต้น ได้หายป่วย เพราะได้ฟังการสาธายาย โพชฌงค์ 7 ดังนั้น บทสวดบทนี้ไม่ได้เป็นบทสวด โพชฌงค์จริง ไม่ได้เป็นบทรักษา

ถ้าเป็นบทรักษา ต้องแจกยาด้วย เช่น อาพาธสูตร อันนี้แจกยาด้วย

ดังนั้นเดี๋ยวกับมาต่อเรื่องนี้ให้ อ่านกันนะ





5076  เรื่องทั่วไป / สอบถามปัญหาชีวิต เปิดใจคุยกัน / กรรมที่ อยู่คนเดียว เพราะไม่สร้างทาน เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 11:04:56 pm
กรรมของคนที่ ต้องอยู่คนเดียว

นั้นเกิดจากการไม่สร้างทาน ประการ ๑

การสร้างทานนั้นไม่เสมอกัน นี้ประการ ๑

เกิดแต่การผิดศีล นี้ประการ ๑

เกิดแต่การผิดธรรม นี้ประการ ๑



การที่มีคู่ แล้ว คู่ ได้ไปบวช นั้น โดยที่เราไม่พร่อง ธรรม 4 ประการนั้น

ต้องถือว่าเป็น คู่บารมี ซึ่งกันและกัน

เหมือน พระนางยโสธรา ( พระนางพิมพา ) กับ เจ้าชายสิทธัตถะ ( พระพุทธเจ้า )

การที่สามารถ ทำได้อย่างนี้จัดว่าเป็น คู่บารมี ทุกภพ ทุกชาติ

สิ่งที่ต้องทำ ก็คือการใช้ชีวิต อยู่ด้วยความเป็น กุลสตรี มีศีล และ ภาวนา เป็นเป้าหมาย

แต่หากนานไป แล้วไม่สามารถ ตั้งมั่นอยู่ด้วย ความเป็นสามีเดียว อันนี้จะส่งผล ต่อไปทุกชาติด้วย

ส่งผลอย่างไร มีผลส่งให้ ต้องมีสามี 2 คน 3 คน เปลี่ยนคู่กันไป

ดังนั้น ถ้าจะหยุดวงจรนี้ ก็ขอให้รักษา ศีล ไว้อย่างดี

หญิงที่ไม่ได้หย่าร้าง มีคู่ใหม่ ก็คือผิดศีล

หญิงที่ได้หย่าร้าง มีคู่ใหม่ ก็สร้างวงจรแห่งกรรม

การเกิดเป็น หญิง ชาย นั้นก็มีคู่ที่ถูกกำหนด มาแล้ว ด้วยกัน

ยิ่ง สามี เข้าไปบวช เป็นพระภาวนา ก็ถือว่า เป็นคู่บารมี

ทาง มีให้ แต่ต้องเลือกเอง .........


อนุโมทนา ด้วยกุศลเจตนา ขอให้เลือกถูกทาง
5077  เรื่องทั่วไป / สอบถามปัญหาชีวิต เปิดใจคุยกัน / Re: เพื่อนทุกข์ เพราะัการเรียน เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 10:51:59 pm
คำถามต้องให้กับบทเพลง ว่าถามว่า เกิดมาทำไม ?

ธรรมดาของมนุษย์ นั้นล้วน มีความเสมอ ไป กับสัตว์ ดิรัจฉาน 4 อย่าง

1. คน กิน สัตว์ ก็ิ กิน

2. คน นอน สัตว์ ก็ นอน

3. คน สืบพันธ์ สัตว์ ก็ สืบพันธ์

4. คน หนีภัย สัตวื ก็ หนีภัย เช่นกัน

   ธรรม 4 ประการมี เสมอกัน ระหว่าง คน และ สัตว์

แต่ มนุษย์ แตกต่างจาก สัตว์ ตรงที่ สติปัญญา คุณธรรม

 ดังนั้นการเรียน ถึงจะลำบากบ้าง แต่ก็ขอให้มีความอดทน

 ความสำเร็จต้องอาศัยความพากเพียร อดทน และ สติปัญญา

สิ่งใดได้มาง่าย สิ่งนั้นอยู่ไม่นาน สิ่งใดได้มาอย่างยากลำบาก สิ่งนั้นจักอยู่กับเรานานหรือไม่นาน

ก็อยู่ที่ สติ และ ปัญญา

บุคคล จักพ้นจากทุกข์ ได้เพราะความเพียร

ขอให้ เพื่อนคนนี้ ผ่านพ้นอุปสรรคไปได้ อย่างดีด้วยเทอญ
 :25:
5078  เรื่องทั่วไป / สอบถามปัญหาชีวิต เปิดใจคุยกัน / Re: คนที่อยู่กันมา 10 กว่าปีต้องเลิกร้างกัน จะช่วยอย่างไรดี เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 10:44:30 pm
คู่กันแล้ว ไม่แคล้วกันดอก

ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร

รักเธอเท่าฟ้า รักเธอเหนือจักรวาล

ทั้งชีวิตนี้ทำได้เพื่อเธอ แม้ชีวิตนี้ก็มอบให้เธอได้



ด้านบนนี้ ก็เป็นคำพูด ที่เกี่ยวกับความรัก ที่ทั้ง ชาย และ หญิง ที่รักกัน หรือ สิเน่หา กล่าววาจาได้ อรรถรส

ประดับจิตใจ ฟังแล้ว ก็ชุ่มชื่นหัวใจ สำหรับ คนหนุ่ม สาว หรือไม่หนุ่ม ไม่สาว



พิจารณากันให้ดี แล้ว คู่ที่อยู่กินกัน แล้วอยู่กันยืดจนปิดฝาโลงให้ซึ่งกันและกัน นั้นหาได้ยากจริง ๆ แต่ก็ใช่จะไม่มี ในปัจจุบันมีสาเหตุมากมายที่ทำให้คู่ต่าง ๆ นั้นอยู่กันไม่ยืด หรือ ไปได้ไม่ตลอดรอดฝั่ง รวมสาเหตุแล้วนยานับประการ ซึ่งนักออนไลน์ล้วนแล้วหาอ่านได้ ในเว็บมากมายเลย แม้หน้าหนังสือพิมพ์ ก็มีแทบจะทุกวัน



แต่ในหลักธรรมในพระพุทธศาสนานั้น ประมวลแล้ว ก็มีเพียงเรื่องเีดียว คือ ผิดศีล และ ผิดธรรม

ผิดศีล ก็คือละเมิด ต่อศีล 5 อันเป็นพืิ้นฐานของมนุษย์ จึงทำให้ต้องเลิกร้างกัน

ผิดธรรม ก็คือขาดการพัฒนาทางด้านจิตใจ ให้หลงใหลใฝ่ตัณหา คือความอยาก

ดังนั้นเมื่อมีคน ผิดศีล ผิดธรรม ก็จึงมีเรื่องของความร้าวฉานในความรัก เกิดขึ้นมากมาย เพราะความไม่รู้จักพอ

ในรสแห่งความอยาก

ดังนั้นผุ้ที่ไม่ได้ฝึกจิตมา ก็ย่อมประสพกับสภาพทางจิตใจ คือเป็นความทุกข์

ยกตัวอย่างเมื่อเราเห็นคนที่เรารัก กำลังไปผิดศีลกับ คนอื่น ต่อหน้า หรือ ได้ยิน มาจิตใจของคนผู้นั้นย่อมเร่า

ร้อนไปด้วยความผิดหวัง ความโกรธ หัวใจจะเต้นเร็ว ตุบ ๆ ตับ ๆ ในหน้าอก เวิ้งว้างเพราะความทุกข์เข้าเสียด

แทงใจ

ดังนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์จึงทรงชี้ให้เห็นความเป็นจริงว่า

นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ได้เป็นตัวตนของเรา ไม่ควรเข้าไปยึดมั่น ถือมั่น

เมื่อรู้ดังนี้จิตใจก็จักปล่อยวาง แม้สังขารคือกายเราเองยังบังคับบัญชาไม่ได้ เราจะมีอำนาจอะไรไปบังคับบัญชา

สังขารของผู้อื่นได้ เมื่อจิตรู้เห็นตามความเป็นจริงดังนี้ ก็จักปล่อยวางความทุกข์ทั้งปวงลงได้


แต่เพราะสภาพจิตที่ไม่ได้ปล่อยวาง กับสนองอารมณ์ตัณหา วาดฝันไว้ จึงทำให้เกิดนำปัญหา 108 1000

ประการเข้ามารุม หนักเข้า ก็จักคิดสั้น ทำลายชื่อเสียง วงศ์ตระกูล พวกพ้อง และ เป็นบุคคลที่บ้าไปในที่สุด


พิษแห่งความรัก ( ตัณหา ) นี้ย่อมร้อยรัดหมู่สัตว์ ให้ติดอยู่ในวังวนแห่งความทุกข์ นับเป็นคนมากมาย

ทางออกของบุคคลนี้ ถ้าไม่มีกัลยาณมิตร ก็ต้องใช้เวลาประสานใจให้หาย ยอมรับความจริงในสิ่งที่เกิดขึ้น

อย่าคิดสั้น ๆ

ทางออกของบุคคลที่มีกัลยาณมิตร ย่อมผ่องใสกว่า เพราะมีคนคอยชี้แนะ





ที่น่าเป็นห่วง คือ ไม่ว่า ภาพยนต์ หนัง ละคร เวลาคนมีปัญหาเรื่องความรัก นี้ทีไร มักจะแสดงวิธีแก้ปัญหา

พอจะสรุปได้แทบจะทุกเรื่องคือ การกินสุรา การตบตี การตามฆ่า ซึ่งเมื่อคนได้ชมและรับข้อมูลก็เลยเป็น

แฟชั่นในการแก้ปัญหาอย่างนี้

อาตมายังรอ ว่าจะมีบุคคลใด ที่ประสพปัญหาของความรัก และแก้ปัญหา อย่างถูกวิธี

ก็เห็นมาโพสต์อยู่เรื่องเดียว

ลองอ่านเรื่องนี้ดู ถึงแม้จะไม่มีภาคต่อ แต่คุณโยมผู้นี้ก็ประสพความสำเร็จในการใช้หลักธรรม ครองชีวิต

http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=443.0



ก็ขอ ให้คุณโยม ที่ประสพปัญหา แบบนี้ทุกท่าน ผ่านพ้นปัญหา ได้อย่างดี ทุกท่าน
 ;)
5079  ธรรมะสาระ / สนทนาธรรม ทั่วไป ตามความชอบใจของท่าน / บางคนหลงทางในเรื่องสมาธิ จนลืมไปว่าสิ่งสำคัญที่องค์พระศาสดามาตรัสรู้คืออะไร เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 09:59:44 pm
อนุโมทนา ด้วยที่หลายท่านได้อ่านพระสูตรที่ลงให้อ่าน แล้วเข้าใจในความหมาย

แท้ที่จริง ธรรมอันประณีตนั้นเป็นเป้าหมายในการปฏิบัติ

ไม่ใช่การได้ความสุข ที่ไม่แท้

ไม่ใช่การได้ยศศักดิ์ และฐานะ

ไม่ใช่การได้ สมาบัติ

แต่ธรรมะอันประณีตอัน นำเราออกจากสังสารวัฏฏ์ นั้นเป็นเป้าหมายของกรรมฐาน

ผู้มีสติ ย่อมพิจารณาในธรรม เห็นอยู่ในธรรม ย่อมรู้แจ้งเห็นจริงด้วยอำนาจแ่ห่งปัญญาอันเกิดแต่สมาธิ

เขาผู้นั้่นพึงพอกพูนธรรมะนั้นให้เนือง ๆ
5080  กรรมฐาน มัชฌิมา / ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน / อานาปานสติ ปฏิสัมภิทามรรค เพื่อการภาวนา เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2010, 09:41:57 pm
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
 มหาวรรค อานาปาณกถา

        [๓๖๒] เมื่อพระโยคาวจรเจริญสมาธิอันปฏิสังยุตด้วยอานาปานสติมีวัตถุ ๑๖ ญาณ
๒๐๐ อันเนื่องมาแต่สมาธิย่อมเกิดขึ้น คือ
ญาณในธรรมอันเป็นอันตราย ๘
ญาณในธรรมอันเป็นอุปการะ ๘
ญาณในอุปกิเลส ๑๘
ญาณในโวทาน ๑๓
ญาณในความเป็นผู้ทำสติ ๓๒
ญาณด้วยสามารถสมาธิ ๒๔
ญาณด้วยสามารถวิปัสสนา ๗๒
นิพพิทาญาณ ๘ นิพพิทานุโลมญาณ ๘
นิพพิทาปฏิปัสสัทธิญาณ ๘
ญาณในวิมุติสุข ๒๑ ฯ

        [๓๖๓] ญาณในธรรมอันเป็นอันตราย ๘ และญาณในธรรมอันเป็นอุปการะ ๘ เป็น
ไฉน ฯ
    กามฉันทะเป็นอันตรายแก่สมาธิ
        เนกขัมมะเป็นอุปการะแก่สมาธิ
   พยาบาทเป็นอันตรายแก่สมาธิ
        ความไม่พยาบาทเป็นอุปการะแก่สมาธิ
  ถีนมิทธะเป็นอันตรายแก่สมาธิ
       อาโลกสัญญาเป็นอุปการะแก่สมาธิ
  อุทธัจจะเป็นอันตรายแก่สมาธิ
       ความไม่ฟุ้งซ่านเป็น   อุปการะแก่สมาธิ
   วิจิกิจฉาเป็นอันตรายแก่สมาธิ
      ความกำหนดธรรมเป็นอุปการะแก่สมาธิ
   อวิชชาเป็นอันตรายแก่สมาธิ
       ญาณเป็นอุปการะแก่สมาธิ
  อรติเป็นอันตรายแก่สมาธิ
       ความปราโมทย์เป็นอุปการะแก่สมาธิ
  อกุศลธรรมแม้ทั้งปวงเป็นอันตรายแก่สมาธิ
      กุศลธรรมทั้งปวงเป็นอุปการะแก่สมาธิ
  ญาณในธรรมอันเป็นอันตราย ๘ และญาณในธรรมเป็นอุปการะ ๘ เหล่านี้ จิตอันฟุ้งซ่านและจิตสงบระงับ ย่อมดำรงอยู่ในความเป็นธรรมอย่างเดียวและย่อมหมดจดจากนิวรณ์ ด้วยอาการ ๑๖ เหล่านี้ ฯ


ในการปฏิบัติ อานาปานสติ ฉบับพระสาวกนั้น ต้องเริ่มต้นด้วยการเตรียมตัว

ต้องเข้าใจว่า อานาปานสติ มี ญาณ ( ความรู้ ) นั้นมีทั้งหมด 200 ญาณ

การเรียนก็ต้องเรียนตามลำดับ

การปฏิบัติ ต้องปฏิบัติตามลำดับ

ซึ่งจะทำการวิสัชนา ไปในนี้เลย

สิ่งสำคัญอันดับแรกก็ศึกษาเข้าใจในธรรมที่เป็นอันตราย ต่ออานาปานสติ มีเท่าไหร่
 
   ในที่นี่้ตอบว่ามี 8 มีอะไรบ้าง

    1.กามฉันทะ 2.พยาบาท 3.ถีนมิทธะ 4.อุทธัจจะ 5.วิจิกิจฉา 6.อวิชชา 7.อรติ 8.อกุศลธรรมทั้งปวง

อันดับที่สองเรียนรู้ ธรรมที่เป็นคู่ปรับแก่ธรรมอันตราย 8 เรียกว่าธรรมะอันเป็นอุปการะแก่อานาปานสติ 8

   ในที่นี่ตอบว่ามี 8 มีอะไรบ้าง

   1.เนกขัมมะ 2.อพาบาท 3.อาโลกสัญญา 4.ความไม่ฟุ้งซ่าน 5.ความกำหนดธรรม 6.ญาณ 7.ปราโมทย์

    8.กุศลธรรมทั้งปวง

ถ้าจิตอยู่ข้างฝ่ายธรรมะอันเป็นอันตราย อันนี้เรียกว่า จิตที่ฟุ้งซ่าน

ถ้าจิตอยู่ข้่างฝ่ายธรรมะอันเป็นอุปการะ อันนี้เรียกว่า จิตสงบระงับ

อันนี้เป็นบทพื้นฐาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถกำหนดรู้ธรรม ความที่มีจิตฟุ้งซ่าน หรือ จิตสงบระงับ

 

Aeva Debug: 0.0007 seconds.Aeva Debug: 0.0005 seconds.
หน้า: 1 ... 125 126 [127] 128 129 ... 132