สนง.ส่งเสริมพระกรรมฐาน

ธรรมะสาระ => ห้อง_ด า ว น์ โ ห ล ด => ข้อความที่เริ่มโดย: raponsan ที่ กุมภาพันธ์ 25, 2012, 12:38:12 pm



หัวข้อ: "คัมภีร์วิมุตติมรรค" อีกตำนานหนึ่งของ "กรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ"
เริ่มหัวข้อโดย: raponsan ที่ กุมภาพันธ์ 25, 2012, 12:38:12 pm

(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)
(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)

ชื่อหนังสือ : วิมุตติมรรค
ผู้รจนา : พระอุปติสสเถระ(ลังกา) ระหว่าง พ.ศ.๖๐๙-๖๕๓

ผู้เรียบเรียงภาษาไทย : พระเทพโสภณ(ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
เลขหมู่ :  294.312 อ838ว 2538
สำนักพิมพ์ :  กรุงเทพฯ : ศสยาม , 2541
จำนวนหน้า :   427 หน้า
ISBN : 974-575-421-8

File หนังสือ :   Wimootimark.zip
หนังสืออนุญาต : phrathepsophon.html


เนื้อหาโดยย่อ :  .... มีคนดีที่เหมือนคนตาบอด ผู้เที่ยวไปในโลกกว้างโดยปราศจากผู้นำทาง ทั้ง ๆ ที่เขาปรารถนาความหลุดพ้นแต่เขาไม่เคยได้รับเรื่องความหลุดพ้น และเพราะรับรู้มาผิด ๆ เพราะเหตุนี้ เขาถูกครอบงำห่อหุ้มมากไปด้วยความทุกข์ เขาจึงไม่ได้รับความหลุดพ้น แม้เขาปรารถนาจะได้รับความหลุดพ้น แต่เขายังไม่มีหนทางสู่ความหลุดพ้น

    หนทางเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับการบรรลุความหลุดพ้น พระพุทธเจ้าตรัสว่า
    "ยังมีสัตว์โลกที่มีธุลี คือกิเลสเพียงเล็กน้อย ในปัญญาจักษุ พวกเขาจะเสื่อมไปเพราะไม่ได้ฟังธรรม"
    พระพุทธเจ้ายังตรัสอีกว่า
    "ภิกษุทั้งหลาย มีปัจจัยสองประการที่ทำให้เกิดสัมมาทิฏฐิปัจจัยสองประการเป้นไฉน คือ ปรโตโฆสะ (ฟังจากผู้อื่น) และโยนิโสมนสิการ(พิจารณาโดยแยบคาย)"
    เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงแสดงวิมุตติมรรค ....


(http://www.dhammachak.net/budha9.jpg)

ดาวน์โหลดและอ่าน คัมภีร์วิมุตติมรรค(pdf) ได้ที่
     สารบัญ (Contents)
ปกหนังสือ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/cover.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/cover.pdf)
คำนำ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/preface.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/preface.pdf)
คำปรารภ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/foreword.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/foreword.pdf)
บทนำ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/intro.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/intro.pdf)
สารบัญ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/contents.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/contents.pdf)
บทที่ 1 นิทานกถา http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter1.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter1.pdf)
บทที่ 2 ศีลปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter2.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter2.pdf)
บทที่ 3 ธุดงคปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter3.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter3.pdf)
บทที่ 4 สมาธิปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter4.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter4.pdf)
บทที่ 5 กัลยาณมิตรปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter5.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter5.pdf)
บทที่ 6 จริยาปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter6.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter6.pdf)
บทที่ 7 กัมมัฏฐานารัมมณปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter7.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter7.pdf)
บทที่ 8 กัมมัฏฐานปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter8.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter8.pdf)
บทที่ 9 อภิญญาปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter9.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter9.pdf)
บทที่ 10 ปัญญาปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter10.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter10.pdf)
บทที่ 11 ตอนที่ 1 อุบายปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter11.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter11.pdf)
บทที่ 12 ตอนที่ 1 สัจจญาณปริจเฉท http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter12.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/chapter12.pdf)
คำย่อชื่อคัมภีร์ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/abbreviations.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/abbreviations.pdf)
เชิงอรรถ http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/footnote.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/footnote.pdf)
ดรรชนี http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/index.pdf (http://www.mcu.ac.th/ebooks/BookOnline_File/Lesson/974-575-421-8/index.pdf)

ดาวน์โหลดทั้งเล่ม คลิก http://www.dhammachak.net/Wimootimark.zip (http://www.dhammachak.net/Wimootimark.zip)


ที่มา http://www.dhammachak.net/wimuttimuk.html (http://www.dhammachak.net/wimuttimuk.html)
ขอบคุณภาพจาก http://www.dhammachak.net/,http://www.buddhistelibrary.org/ (http://www.dhammachak.net/,http://www.buddhistelibrary.org/)


หัวข้อ: Re: "คัมภีร์วิมุตติมรรค" อีกตำนานหนึ่งของ "กรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ"
เริ่มหัวข้อโดย: raponsan ที่ กุมภาพันธ์ 25, 2012, 12:46:56 pm

(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/Books/Buddhist_study/Scripture/thumb_Visutti_Magga.jpg)

คำนำจากหนังสือ คู่มือ สมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ

     พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับนี้ เป็นของเก่าเล่าเรียนปฏิบัติ สืบต่อกันมาช้านาน แต่ครั้งพุทธกาลโดยพระราหุลเถรเจ้า ทรงเป็นต้นสาย สืบต่อมา ถึงครั้งตติยสังคายนา นำเข้ามาสู่ลังกา  และนำเข้ามาสู่สุวรรณภูมิ โดยพระโสณเถรเจ้า พระอุตระเถรเจ้า  พระองค์ท่านได้นำพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแพร่ในดินแดนสุวรรณภูมิ พร้อมพระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ผ่านยุคผ่านสมัยเรื่อยมาจนถึงยุคศรีทวารวดี

     ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๖๐๙–๖๕๓ พระอุปติสสะเถรเจ้า แห่งลังกาทวีป ได้นำเอาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ซึ่งเป็นพระกรรมฐาน ภาคปฏิบัติ อันทรงจำสืบกันมา นำมาแต่งจารึกลงเป็นอักษร เรียงลำดับ เรียงหมวดหมู่พระกรรมฐานไว้เป็นภาคปริยัติ เรียกว่า คัมภีร์วิมุตติมรรค เพื่อให้ผู้ปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ มาแล้ว ได้ศึกษาหาความรู้ภาคปริยัติต่อไป


(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)
(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)(http://www.buddhistelibrary.org/th/albums/central/Thai_files/thumb_Wimootimark.jpg)

      ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๙๕๖ พระพุทธโฆสะ ได้นำคัมภีร์วิมุตติมรรค มาแต่งเป็น พระคัมภีร์วิสุทธิมรรค  เพื่อแสดงปัญญา ให้ได้มาซึ่งคัมภีร์อรรถคาถา

     แต่การบอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ยังคงบอกต่อๆกันมา ในภาคปฏิบัติ และจำสืบกันมาเรื่อยๆ เพื่อป้องกันการชี้นำ และเกิดอุปาทาน และจิตหลอน จึงสืบต่อมาจนถึงยุคศรีทวารวดี  ยุคสุโขทัย  ยุคอยุธยา  และยุครัตนโกสินทร์  ฯลฯ


อ้างอิง
คู่มือ สมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรมหาเถรเจ้า (สุก ไก่เถื่อน) 
วัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร (พลับ) กรุงเทพฯ พระครูสังฆรักษ์วีระ ฐานวีโร  รวบรวม เรียบเรียง
http://www.somdechsuk.org/ (http://www.somdechsuk.org/)
ขอบคุณภาพจาก http://www.buddhistelibrary.org/ (http://www.buddhistelibrary.org/)