ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: พระพุทธเจ้า เวลาเทศนา พระองค์แสดงแต่พระธรรมอย่างเดียวหรือไ่ม่ครับ  (อ่าน 4393 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

nimit

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 117
  • เรามาเพื่อจรรโลงพระกรรมฐาน
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
0
เพราะเวลาผมไปฟังธรรม ที่วัดพระก็มุ่งแต่แสดงหลักธรรม คือพูดซะส่วนใหญ่ ผมยังไม่เคยเห็นพระสงฆ์นั่งกรรมฐานกับผมเกิน 1 ชั่วโมงเลย :'
( ถ้าข้อความนี้เป็นการปรามาสพระสงฆ์ ผมขอขมาต่้อการล่วงเกินนี้ด้วย ผมไม่มีเจตนาจะกล่าวคำปรามาส ระวังมากๆๆๆ)
บันทึกการเข้า
ธรรมจักรสถิตอยู่ ณ ที่ใด ที่นั้นมีแต่ความร่มเย็น

saithong

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +13/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 108
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
 ;D ;) :D
เทสนา ของพระพุทธเจ้า มี 3 อย่างคะ
1.ธรรมเทสนา
2.ปาฏิหาิิริยเทสนา
3.  จำไม่ได้ช่วยด้วย

คุณ natnaposon
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28522
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0
คุณสายทอง พยายามที่จะตอบ ขออนุโมทนากับความพยายามอันนั้น

คนที่คุณสายทองขอให้ช่วยนั้น ไม่น่าจะใช่คนแถวนี้

เห็นแก่ความพยายามของคุณสายทอง ผมจะขออธิบายให้ให้เข้าใจดังนี้

      สามข้อที่คุณสายทองกล่าวถึงนั้นที่ถูกต้อง คือ


อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน ๓ (ลักษณะการสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทำให้คำสอนของพระองค์ ควรแก่การประพฤติปฏิบัติตาม และทำให้เหล่าสาวกเกิดความมั่นใจเคารพเลื่อมใสในพระองค์อย่างแท้จริง — the Three Aspects of the Buddha’s Teaching; the Buddha’s manners of teaching)

๑. อภิญญายธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมด้วยความรู้ยิ่ง, ทรงรู้ยิ่งเห็นจริงเองแล้ว จึงทรงสอนผู้อื่น เพื่อให้รู้ยิ่งเห็นจริงตาม ในธรรมที่ควรรู้ยิ่งเห็นจริง — Having himself fully comprehended, he teaches others for the full comprehending of what should be fully comprehended; teaching with full comprehension)

๒. สนิทานธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมมีเหตุผล, ทรงสั่งสอนชี้แจงให้เห็นเหตุผล ไม่เลื่อนลอย — He teaches the doctrine that has a causal bias; teaching in terms of or with reference to causality)

๓. สัปปาฏิหาริยธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมให้เห็นจริงได้ผลเป็นอัศจรรย์, ทรงสั่งสอนให้มองเห็นชัดเจนสมจริงจนต้องยอมรับ และนำไปปฏิบัติได้ผลจริงเป็นอัศจรรย์ — He teaches the doctrine that is wondrous as to its convincing power and practicality; teaching in such a way as to be convincing and practical)

ข้อ ๑ บางท่านแปลว่า ทรงแสดงธรรมเพื่อความรู้ยิ่ง
M.II.9; A.I.276.   ม.ม.๑๓/๓๓๐/๓๒๒; องฺ.ติก.๒๐/๕๖๕/๓๕๖.
________________________________________


 
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 13, 2009, 10:31:50 am โดย nathaponson »
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

ทินกร

  • ถวายชีวิตเพื่อพุทธศาสน์
  • ผู้บริหารเว็บ
  • มีเหตุมีผล
  • *
  • ผลบุญ: +17/-1
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 365
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ต้องขออภัย ที่ไม่ได้ตอบ เพราะถ้าเป็นศัพท์ชั้นสูง หรือ ธรรมเกินปัญญาที่ได้รู้
กระผมจะไม่ตอบ เพราะกลัวเป็นกรรมจากการให้ธรรมที่ผิด จะตอบได้เฉพาะ
ที่ตนเองได้เท่านั้นครับ
ต้องขออภัยอีกที
บันทึกการเข้า
พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

www.madchima.org
http://saraburisat.ps-satcom.com รับติดตั้งจานดาวเทียมครับ
http://www.yutyaplaza.com ลงประกาศฟรี ของชาวอยุธยา

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 28522
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0
มาถึงคำถามของคุณนิมิต  คุณคงจะพยายามถามว่า เวลาพระองค์เทสน์นั้น
 
    -ได้ปฏิบัติกรรมฐานไปด้วยหรือเปล่า (ทำพร้อมกัน)
    -หลังเทสน์เสร็จ ได้พาคนฟังนั่งกรรมฐานหรื่อเปล่า

 ถ้าผมเข้าใจผิดต้องขอโทษด้วย

 กรรมฐานมีสองอย่างครับ คือ สมถกรรมฐาน และ วิปัสสนากรรมฐาน(คุณคงทราบดี)
สมถะนั้น เป็นเรื่องการแสงหา เพียงสมาธิ ความสงบชั่วคราว และอิทธิฤทธิ์ต่างๆ
ส่วนวิปัสสนา เป็นการแสวงหา ความหลุดพ้นจากกิเลส อย่างถาวร

ต่อไปนี้จะเป็นความเห็นส่วนตัวผมนะครับ(ไม่ใช่คำสอน)

      ผมขอตั้งข้อสังเกตว่า พระองค์บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว
(สำเร็จอรหันต์) ไม่มีสิ่งใดที่พระองค์ไม่รู้
      ความเป็นไปได้ก็คือ ไม่มีความจำเป็นใดๆที่พระองค์จะต้องเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
ในขณะเทสน์

      แต่โดยทั่วไป การพูดการเทสน์ของสาวกอย่างเราๆ ต้องใช้สมาธิระดับหนึ่ง
ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้อีกเช่นกัน ที่พระองค์จะเจริญสมถะ ในขณะเทสน์

      คำถามต่อมา แล้วพระองค์พาคนฟัง นั่งกรรมฐาน หลังเทสน์เสร็จหรือไม่
ขอตอบว่า ไม่ทราบ ผมยังอ่านพระสูตรยังไม่จบ

     คุณนิมิตครับ สังสัยลังเลได้ครับ แต่อย่าคิดมาก
     วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัย ในพระรัตนตรัย
     อยู่ใน นิวรณ์ ๕ และยังอยู่ใน สังโยชน์ ๑๐ โสดาบันเท่านั้นที่ละได้

[/color]
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

ธรรมะ ปุจฉา

  • http://www.facebook.com/srikanet?ref=tn_tnmn
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 713
  • ปัญญสโก ภิกขุ (พระที) ..... คณะ ๓/๓ วัดพลับ
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
บันทึกการเข้า
ยาดี มิได้ทำให้คนหายไข้   คนหายไข้ เพราะได้กินยาดี
ธรรมะ มิได้ทำให้คนดี       คนดีได้  เพราะปฏิบัติธรรม