ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: QA "การเข้าไปกำหนดธาตุ ตาม พระลักษณะ ทำอย่างไรครับ"  (อ่าน 1962 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
QA  ใครช่วยตอบได้ ก็ช่วยตอบกัน ด้วยนะ จะนำคำถามมาลงก่อน ก็แล้วกันนะ ส่วนคำตอบจะทะยอยตอบ

ปุจฉา
     ??  QA "การเข้าไปกำหนดธาตุ ตาม พระลักษณะ ทำอย่างไรครับ เห็นมี ธาตุ แตกออกมาเป็น เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ เป็นต้น เหล่านี้ มีความเกี่ยวข้องอย่างไรในการ กำหนดพระลักษณะ ครับ" 


วิสัชชนา

    <?<?<? ยังไม่ได้ตอบ รอให้ สมาชิกธรรม ร่วมตอบกันก่อน


 ;)

บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

นักเดินทาง

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 695
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
พระลักษณะ เคยอ่านว่า คือ จิตรวมเป็นกำลังสมาธิขั้น ขณิกะสมาธิ แล้วส่งผลออกทางกาย ซึ่งมีส่วนต่าง ๆ ปรากฏตามธาตุ เรียกว่า ส่วน 32 ที่เรียกว่า กายเรา นั่นแหละครับ

   ในส่วน อาการ32 แบ่งเป็นกำลัง ตามธาตุ เรียกว่า แยกส่วน เช่น เกสา โลมา นะขา ทันตา เป็นต้น จัดเป็นธาตุดิน

   เสโท เมโท อาโป เป็นต้น จัดเป็นธาตุน้ำ

  ดังนั้น พระลักษณะ ปรากฏได้ที่ จิตรวมเป็นสมาธิ ตั้งแต่ระดับ ขณิกสมาธิ เป็นต้นไป ทำให้เกิดอาการอิ่มใจ พอใจ รื่นเริง บันเทิง อันสามารถสัมผัสได้ ทางกาย

   พระลักษณะ ที่ปรากฏทาง กาย ก็มี ขนลุก น้ำตาไหล กายโยก เย็นทั่วร่าง เป็นต้น

   ดังนั้นการเข้าไปกำหนด ปีติ มีส่วนสำคัญมาก ๆ ตรงนี้ เพราะปีติ เป็นหนึ่งใน ขั้นตอนของ อานาปานสติ แต่เบื้องต้นคนจับพระลักษณะ เป็นส่วน ถือนิมิต เพียง อุคคนิมิต จัดเป็น ปีติ ในพระธรรมปีิติ ครับ

   พระลักษณะ เป็นสิ่งกำหนด ได้ง่าย ส่วนกรรมฐาน มัชฺฌิมา แบบลำดับ เน้นที่พระรัศมี เพราะ รัศมี มีส่วนส่งเสริม รูปกรรมฐาน มีสี เป็นนิมิต เป็น รูปปรมัตถ์

  ตอบเบื้องต้นพอไดัคุยกันนะครับ ที่เหลือ ต้องพระอาจารย์ครับ ส่วนนี้ผมก็เคยถามท่านจึงพอนำเอามาตอบได้บางส่วนครับ

   เจริญสติ และ ธรรม กันทุกท่านนะครับ

    :67: :13:
บันทึกการเข้า