สนง.ส่งเสริมพระกรรมฐาน

กรรมฐาน มัชฌิมา => ถามตอบ ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับ กรรมฐาน => ข้อความที่เริ่มโดย: ทินกร ที่ พฤศจิกายน 24, 2009, 11:05:18 am



หัวข้อ: เข้าคืบ เข้าสับ ปีติ ๕
เริ่มหัวข้อโดย: ทินกร ที่ พฤศจิกายน 24, 2009, 11:05:18 am
   เข้าคืบ เข้าสับ ปีติ ๕   
๑.นั่งเอายังพระลักษณะ และพระรัศมี ปีติ๕ เป็นอนุโลม เป็นปฏิโลม   (ตั้งสะดือ)
เป็นอนุโลม คือ  พระขุททกาปีติ พระขณิกาปีติ  พระโอกกนฺติกาปีติ  พระอุเพงคาปีติ พระผรณาปีติ 
เป็นปฎิโลม คือ  พระผรณาปีติ พระอุพฺเพงคาปีติ พระโอกกนฺติกาปีติ พระขณิกาปีติ  พระขุททกาปีติ
   ๒.เข้าสับปีติห้าเป็นอนุโลม   เข้าสับปีติห้าเป็นปฏิโลม
           รวมตั้งที่นาภี          รวมตั้งที่นาภี
   ๑.พระขุททกาปีติ       (ดิน)   ๑.พระผรณาปีติ         (อากาศ)
   ๒.พระโอกกันติกาปีติ(น้ำ)   ๒.พระโอกกันติกาปีติ (น้ำ)
   ๓.พระขณิกาปีติ        (ไฟ)   ๓.พระอุพเพงคาปีติ    (ลม)
   ๔.พระอุพเพงคาปีติ   (ลม)   ๔.พระขณิกาปีติ         (ไฟ)
   ๕.พระโอกกันติกาปีติ(น้ำ)   ๕.พระโอกกันติกาปีติ  (น้ำ)   
   ๖.พระผรณาปีติ         (อากาศ)    ๖.พระขุททกาปีติ        (ดิน)
   ๓.เข้าคืบพระปีติห้าเป็นอนุโลม   เข้าคืบพระปีติห้าเป็นปฏิโลม
              รวมตั้งที่นาภี              รวมตั้งที่นาภี
   ๑.พระขุททกาปีติ (ดิน)   ๑.พระอุพเพงคาปีติ (ลม)
   ๒.พระโอกกันติกา (น้ำ)   ๒.พระขณิกาปีติ  (ไฟ)
   ๓.พระผรณาปีติ (อากาศ)   ๓.พระผรณาปีติ(อากาศ)
                           ๔.พระขณิกาปีติ  (ไฟ)    ๔.พระโอกกันติกาปีติ(น้ำ)
   ๕.พระอุพฺเพงคาปีติ (ลม)   ๕.พระขุททกาปีติ (ดิน)
เพื่อฝึกจิตให้แคล่วคล่อง
   ๖.เข้าวัดออกวัดสะกดเป็นอนุโลม   เข้าวัดออกวัดสะกดเป็นปฏิโลม
                    ๑.พระขุทฺทกาปีติ        (ดิน)   ๑.พระผรณาปีติ         (อากาศ)
   ๒.พระขณิกาปีติ         (ไฟ)   ๒.พระอุพฺเพงคาปีติ    (ลม)
   ๓.พระโอกกันติกาปีติ  (น้ำ)   ๓.พระโอกกันติกาปีติ  (น้ำ)
   ๔.พระอุพฺเพงคาปีติ     (ลม)   ๔.พระขณิกาปีติ         (ไฟ)
   ๕.พระผรณาปีติ          (อากาศ)   ๕.พระขุททกาปีติ        (ดิน)
   การเข้าสับ เข้าคืบ เข้าวัด ออกวัด พระปีติห้า เป็นอนุโลมปฏิโลม ทำให้จิตชำนาญ แคล่วคล่อง เป็นวสี    ในเบื้องต้น


ขั้นตอนการนั่งพระยุคลธรรม ๖   
   เข้าสับพระยุคลหกเป็นอนุโลม   เข้าสับพระยุคลหกเป็นปฏิโลม
                      รวมลงที่นาภี             รวมลงที่นาภี
   ๑.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ            ๑.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา
   ๒.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                  ๒.พระกายกมฺมัญญะตา-จิตกมฺมัญญะตา
๓.พระกายลหุตา-จิตลหุตา                     ๓.พระกายปาคุญญะตา-จิตปาคุญญะต
   ๔.พระกายกัมมัญญตา-จิตกัมมัญญตา    ๔.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา             
                 ๕.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                     ๕.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญะตา
   ๖.พระกายปาคุญญะตา-จิตปาคุญญะตา    ๖.พระกายละหุตา-จิตละหุตา     
   ๗.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญะตา    ๗.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา   
   ๘.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา                    ๘.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ             
---------------------------------
   เข้าคืบยุคลหกเป็นอนุโลม      เข้าคืบยุคลหกเป็นปฏิโลม
           รวมลงที่นาภี              รวมลงที่นาภี
   ๑.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ                   ๑.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา        
   ๒.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                         ๒.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญตา
   ๓.พระกายปาคุญญะตา-จิตปาคุญญะตา      ๓.พระกายลหุตา-จิตลหุตา                 
   ๔.พระกายลหุตา-จิตลหุตา                        ๔.พระกายปาคุญญะตาจิตปาคุญญะตา
   ๕.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญะตา      ๕.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                 
   ๖.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา                     ๖.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ           
--------------------------------
   เข้าวัดออกวัดสกดยุคลหก   เข้าวัดออกวัดสะกดยุคลหก
                     เป็นอนุโลม             เป็นปฏิโลม
   ๑.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ           ๑.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา         
   ๒.พระกายลหุตา-จิตลหุตา                  ๒.พระกายปาคุญญะตา-จิตปาคุญญะตา 
   ๓.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                   ๓.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญะตา 
   ๔.พระกายกัมมัญญะตา-จิตกัมมัญญะตา   ๔.พระกายมุทุตา-จิตมุทุตา                   
   ๕.พระกายปาคุญญะตา-จิตปาคุญญะตา   ๕.พระกายลหุตา-จิตลหุตา           
   ๖.พระกายชุคคะตา-จิตชุคคะตา                ๖.พระกายปัสสัทธิ-จิตปัสสัทธิ   
----------------------


พระสุขสมาธิ ๒ ประการ
๑.พระกายสุข  จิตตะสุข(สบาย)
๒.พระอุปจารสมาธิ พุทธานุสสติ
ขั้นตอนการนั่งสุขสมาธิ
ขั้นตอนที่ ๑-๒-๓  เหมือนพระยุคลหก
ขั้นตอนที่ ๔
เข้าวัดออกวัด  เข้าสะกดพระสุขพระพุทธา    เข้าวัดออกวัดเข้าสะกดพระสุขพระพุทธา
            เป็นอนุโลม                                                           เป็นปฏิโลม
๑.พระกายสุข-จิตสุข   ๑.พระอุปจารสมาธิ พุทธานุสสติ
๒.พระอุปจารสมาธิ พุทธานุสสติ                              ๒.พระกายสุขจิตสุข


หัวข้อ: Re: เข้าคืบ เข้าสับ ปีติ ๕
เริ่มหัวข้อโดย: ธัมมะวังโส ที่ ธันวาคม 19, 2011, 10:18:59 am
การเข้าสับ เข้าคืบ เข้าวัด ออกวัด สะกด เป็น ขั้นสูง ของกรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำัดับในส่วนพระธรรมปีติ พระยุคลธรรมหก พระสุขสมาธิ

 ดังนั้นท่านที่ฝึกใหม่ ยังคงต้องต้อง ฐานจิตให้ได้ ก่อนนะจ๊ะ

 ในส่วนนี้ต้องการแสดงให้เห็นรายละเอียด ของห้องพระกรรมฐาน เนื่องจากได้รับจดหมายว่า
เห็นรายละเอียดจิตหดหู่ ว่ามีขันตอนมากมาย สู้ฝึกหายใจเข้า หายใจออกโธ ไม่ได้ ไม่มีขั้นตอนอะไร
และบางท่าน ยังมองว่า ฝึกได้ยากแบบนี้ เป็นเพราะท่านทั้งหลาย รู้มากเกินไป จึงฝึกกันไม่ได้

 กรรมฐาน มัชฌิมา แบบลำัดับ มีได้ตามลำัดับ ก้าวหน้าได้เพราะการฝึก ไม่ใช่การอ่าน หรือฟัง

ดังนั้นผู้ฝึกต้องมีความอดทน ที่สำคัญต้องมีศรัทธา เพราะ พระพุทธานุสสติ อาศัย ศรัทธาเป็นกำลัง นะจ๊ะ


 เจริญธรรม


  ;)


หัวข้อ: Re: เข้าคืบ เข้าสับ ปีติ ๕
เริ่มหัวข้อโดย: PRAMOTE(aaaa) ที่ มกราคม 25, 2012, 01:46:44 am
คุณ มะเดื่อ ควรดูกระทู้นี้แนบไป


หัวข้อ: Re: เข้าคืบ เข้าสับ ปีติ ๕
เริ่มหัวข้อโดย: ธัมมะวังโส ที่ มกราคม 26, 2012, 11:34:40 am

(http://www.madchima.net/images/249_SAM_0473r.jpg)

พิจารณาจากภาพที่อาตมา ได้วาดประกอบไว้นะจ๊ะ

เจริญธรรม

  ;)