ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: เจ้าพ่อ เจ้าแม่ นี้มีการแต่งตั้งเรียกกันได้อย่างไร คะ  (อ่าน 4407 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

sunee

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 301
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เจ้าพ่อ เจ้าแม่ นี้มีการแต่งตั้งเรียกกันได้อย่างไร คะ
คือสงสัยว่า ทำไมเรียกตรงนี้ ว่าเจ้าพ่อ ตรงนั้นเรียกว่า เจ้าแม่ เงื่อนไขของเจ้าพ่อ กับ เจ้าแม่ นี้มีคุณสมบัติอย่างไร คะ ถึงได้เรียกกันอย่างนี้ คะ

 :c017: :smiley_confused1:
บันทึกการเข้า

ปักษาวายุ

  • กำลังจะพ้นจากน้ำ
  • *
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 96
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
เป็นปัญหา ชวนปวดหัว นะครับ

  ผมเองก็เคยสงสัยเหมือนกัน ว่า พอนางมะขามตายไป ก็เรียกกันว่า เจ้าแม่มะขามเป็นต้น
 ผมคิดว่า น่าจะอยู่ที่คนนับถือ และมีผลงาน ด้วยกระมังครับ ถึงได้เรียกอย่างนั้น

   แต่เคยไปเจอร่างทรง เขาก็บอกให้เรียกว่า เจ้าพ่อ เจ้าแม่ เช่นกัน อันนี้ใครแต่งตั้งผมเองก็ไม่แน่ใจ แต่ปัญหาของคุณ sunee นี้ถือได้ว่า โดนใจผมเมื่อก่อนครับ

   ปัจจุบัน ผมมักจะไม่ค่อยไปเฉียดใกล้ เจ้าพ่อ เจ้าแม่ ครับ

   แต่จะเฉียดไปใกล้ หลวงพ่อ หลวงพี่ หลวงน้า หลวงลุง หลวงน้อง หลวงตา หลวงปู่ แทนครับ

     :s_hi: :88: :93:
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 29297
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0
เจ้าพ่อ
    น. เทพารักษ์ผู้คุ้มเกรงถิ่นนั้น ๆ, ผู้เป็นใหญ่หรือมีอิทธิพลในถิ่นนั้น.


เจ้าแม่
    น. เทพารักษ์ผู้หญิงที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์จะให้ความคุ้มเกรงรักษาได้ เช่น เจ้าแม่ทับทิม, หญิงผู้เป็นใหญ่หรือมีอิทธิพลในถิ่นนั้น.


คุ้มเกรง
    ก. ปกป้องไว้ให้คนอื่นเกรงกลัว.


ที่มา พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
ขอบคุณภาพจากhttp://img.kapook.com/,http://lotto.mthai.com/,http://www.baanruktalay.com/,http://touronthai.com/


ศาลเจ้าพ่อเสือ  ตั้งอยู่เลขที่ 468 ถนนตะนาว ใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ศาลเจ้าแม่งูจงอางและลูก ถ.พระราม 2. กรุงเทพฯ

ศาลเจ้าแม่ทับทิมทอง ปราณบุรี

ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวหรือศาลเจ้าเล่งจูเกียง ปัตตานี
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 18, 2012, 10:25:49 pm โดย nathaponson »
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ

sunee

  • มีเหตุมีผล
  • ****
  • ผลบุญ: +1/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 301
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
0
ขอบคุณคะ ไม่ผิดหวัง เลยกับคำถามที่นี่ ต้อนรับและตอบให้อย่างอบอุ่น คะ

  :25: :25: :25:
บันทึกการเข้า

raponsan

  • มารยิ่งมี บารมียิ่งแก่กล้า
  • ผู้ดูแลบอร์ด
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +61/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 29297
  • Respect: +11
    • ดูรายละเอียด
0

เจ้าพ่อ
    น. เทพารักษ์ผู้คุ้มเกรงถิ่นนั้น ๆ, ผู้เป็นใหญ่หรือมีอิทธิพลในถิ่นนั้น.


เจ้าแม่
    น. เทพารักษ์ผู้หญิงที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์จะให้ความคุ้มเกรงรักษาได้ เช่น เจ้าแม่ทับทิม, หญิงผู้เป็นใหญ่หรือมีอิทธิพลในถิ่นนั้น.


คุ้มเกรง
    ก. ปกป้องไว้ให้คนอื่นเกรงกลัว.


ที่มา พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒


ขอบคุณภาพจาก http://www.board.fortunestars.com/

      ขอทบทวนอีกครั้งครับ มีอยู่อย่างอยากให้เข้าใจ
     คำว่า "เจ้าแม่กวนอิม" ไม่ควรเรียก ที่ถูกต้อง คือ "พระโพธิสัตว์กวนอิม"
     คติที่มาจากอินเดีย(น่าจะรวมถึงพุทธศาสนาด้วย) พระโพธิสัตว์ต้องเป็นผู้ชายเท่านั้น
     แต่พอคติของพระโพธิสัตว์นี้ แผ่ไปที่จีน กลับกลายไปเป็นผู้หญิง


     เป็นที่น่าสังเกตว่า ตำนาน"พระเจ้าสิบชาติของเรา" (เช่น พระเวสสันดร)
     สมัยที่พระสมณโคดมของเราเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ทั้งสิบชาติล้วนเป็นผู้ชายทั้งสิ้น
     คุยพอให้อิ่มใจในธรรมเท่านี้ครับ

     
บันทึกการเข้า
ปัญจะมาเร ชิเนนาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสติ มหาวีรัง นะมามิหัง ปัญจะมาเร ปลายิงสุ