ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้  (อ่าน 14624 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0


"เคยสงสัยไหม ว่า ทำไม บางคนฉลาดมาก บางคนฉลาดน้อย บางคนก็รู้มาก บางคนก็รู้น้อย เรามักจะบอกว่า เป็นบุญเป็นกรรม ที่สั่งสมไว้ ใช่ไหม ? จึงทำให้คนทั้งหลายมีความแตกต่างกัน หรือ บางท่านก็บอกว่า เป็นเพราะยีนส์ พันธุกรรม นั้น แตกต่างกัน ก็แล้วแต่ความเข้าใจ แต่ละท่าน แต่ละบุคคล แต่เมื่อท่านฝึกจิตเข้าถึง กายภายในตนได้ ท่านก็จะรู้ความลับว่า แท้ที่จริง ทุกสิ่งนับจากสูญเหมือนกัน ทั้งหมด แต่แตกต่างกันตรงที่เวลา ที่ถูกพัฒนาด้วยความต้องการ( ความรู้ )ที่สั่งสมไว้ นั้นแตกต่างกัน จึงทำให้เกิด มีมนุษย์ สัตว์ ในโลกตามสายพันธ์ต่าง ๆ แม้เพียงจิตเราตกข้างฝ่ายดำ ( อกุศล ) มาก การพัตนาการก็ไปสู่ กำเนิด 4 เป็นใหญ่ นั่นก็คือ ติรัจฉาน เปตร อสุรกาย สัตว์นิริยะ หากจิตของเราตกข้างฝ่ายขาวมาก ( กุศล ) การพัฒนาการก็ไปสู่ กำเนิด 3 อย่าง นั้นก็คือ มนุษย์ เทวดา และ พรหม หากจิตพัฒนาได้เห็นทุกสรรพสิ่ง ในสภาวะ เริ่มต้นจาก สูญ และ ในสภาวะ เสื่อม ก็ไปสู่ความสูญ ไม่มีความผูกพัน ไม่เป็นทั้งฝ่ายดำ และ ฝ่ายขาว มีจิตเป็นกลาง เพราะไมใยดี อะไร ๆ อีกต่อไป ( เป็นการเข้าถึง อนัตตลักษณะ ) หากจิตพัฒนา อย่างนี้ นั่นก็คือการหยุด กาลเวลา เพราะหยุด กาลเวลา เป็นคุณสมบัติ ของพระอริยะเจ้าทุกรูป ทุกองค์ เพราะเป็นผู้ไม่พัวพันในกาลเวลา เป็นผู้คลายจาก กาลเวลา เป็นผู้ไม่อยู่และร่วมกัน สังสารวัฏ ต่อไป ดังนั้นท่านทั้งหลาย ความรอบรู้ยิ่งอันนี้ จะสั่งสมได้ จนถึงจุดสูงสุด ได้นั้น อยู่ที่ท่านฝึกจิต ของท่านด้วยกรรมฐาน เพื่อการเข้าไปรู้ตาม องค์ พระสัพพัญญู เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง เพื่อพ้นจากการครอบงำแห่ง กาลเวลา และ อวิชชา เป็นผู้รอบรู้ ใน อริยะสัจจะ ตามพระสุคตเจ้าประกาศไว้ดีแล้ว นั่นเอง ขอให้ท่านทั้งหลาย จงหยุดกาลเวลา และค้น ตน แห่ง ตน จิต เหนือ จิต ตามสมควรเพื่อเข้า สู่ มรรค และ ผล ด้วยกำลังคือความเพียร อันประกอบด้วย สติ และ สมาธิ เถิด"

ข้อความบางส่วน จากหนังสือเพียงหยดหนึ่งแห่งพระธรรม
บันทึกการภาวนาและการเดินทาง ของธัมมะวังโส
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
.......กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา ฯ
..........สุ ขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ทุกขายะ เวทะนายะ
สัมปะยุตตา ธัมมา อะทุกขะมะสุ ขายะ เวทะนายะ สัมปะยุ ตตา
ธัมมา ฯ
..........วิปากา ธัมมา วิปากะธัมมะธั มมา เนวะวิปากะนะวิปากะ-
ธัมมะธัมมา ฯ
..........อุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา อะนุปาทินนุ ปาทานิ ยา ธั มมา
อะนุปาทินนานุปาทานิยา ธัมมา ฯ
..........สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐะสั งกิเลสิกา ธัมมา
อะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกา ธัมมา ฯ
..........สะวิตั กกะสะวิจารา ธัมมา อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธั มมา
อะวิตักกาวิจารา ธัมมา ฯ
..........ปีติ สะหะคะตา ธั มมา สุขะสะหะคะตา ธั มมา อุ เปกขา-
สะหะคะตา ธัมมา ฯ
......ทัสสะเนนะ ปะหาตั พพา ธั มมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพา
ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา ฯ
..........ทัสสะเนนะ ปะหาตั พพะเหตุกา ธัมมา ภาวะนายะ-
ปะหาตัพพะเหตุ กา ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ-
ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ฯ
..........อาจะยะคามิโน ธัมมา อะปะจะยะคามิโน ธัมมา
เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามิโน ธัมมา ฯ
..........เสกขา ธัมมา อะเสกขา ธัมมา เนวะเสกขานาเสกขา ธัมมา ฯ
..........ปะริตตา ธัมมา มะหัคคะตา ธัมมา อัปปะมาณา ธัมมา ฯ
..........ปะริ ตตารัมมะณา ธัมมา มะหั คคะตารัมมะณา ธัมมา
อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........หีนา ธัมมา มัชฌิมา ธัมมา ปะณีตา ธัมมา ฯ
..........มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา อะนิยะตา
ธัมมา ฯ
..........มัคคารั มมะณา ธัมมา มัคคะเหตุกา ธัมมา มัคคาธิปะติ โน
ธัมมา ฯ
..........อุปปันนา ธัมมา อะนุปปันนา ธัมมา อุปปาทิโน ธัมมา ฯ
..........อะตีตา ธัมมา อะนาคะตา ธัมมา ปัจจุปปันนา ธัมมา ฯ
..........อะตี ตารัมมะณา ธัมมา อะนาคะตา รั มมะณา ธัมมา
ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........อัชฌัตตา ธัมมา พะหิทธา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา ฯ
..........อัชฌัตตารั มมะณา ธั มมา พะหิทธารัมมะณา ธัมมา
อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทั สสะนะสัปปะฏิฆา
ธัมมา อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา ฯ

    อาการ หูสดับ
    หูสดับ เป็นอาการที่ปรากฏ ในสมาธิ และ หลังออกจากสมาธิ
  เมื่อฉันออกจากสมาธิ หูฉันได้ยินเสียงพัดลม เป็นบท มาติกา เอง บทนั้นย้ำสวดไป สวดมา วนรอบเหมือน เทปเสียง ในนั้นฉันฟังจนไม่มีเสียง สดับ นั่นหมายถึง ฉันเป็นเวลา เสียงสดับ จึงเป็นระนาบเดียวกับเสียง อื่น ๆ

   แต่ก่อนที่ อาการ หูสดับ จะเป็นเข้า ระนาบเดียว
   ปัญญา ( ความรู้ ) ก็เกิดกับฉันว่า สภาวะธรรม ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกุศล หรือ อกุศล ล้วนแล้วก็คือ สภาวะธรรม ใน ธรรมทั้งสอง มองโดยรวมก็มีความขัดแย้ง ซึ่งกันและกัน หมายถึงว่า ธรรมดำเกิด ธรรมขาวก็ดับ ไม่ยอมอยู่ร่วมกัน แม้ธรรมที่เรียกว่า กลาง ๆ ก็กลายเป็นอีกหมู่หนึ่งของสภาวะ ธรรม แต่ในสภาวะ ธรรม มีความหยาบ กลาง และ ประณีต ตามสภาวะ



  กุสะลา ธัมมา, ธรรมที่เป็นกุศล ก็มี
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมที่เป็นอกุศล ก็มี
อัพยากะตา ธัมมา, ธรรมไม่เป็นทั้งกุศลและอกุศลก็มี
สุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา, ธรรมที่ประกอบด้วยความรู้สึกเป็นสุขก็มี
ทุกขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา, ธรรมที่ประ กอบด้วยความรู้สึกเป็นทุกข์ ก็มี
อะทุกขะมะสุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา, ธรรมที่ประกอบด้วยความ รู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์ ก็มี

วิปากา ธัมมา, ธรรมที่เป็นผล ก็มี
วิปากะธัมมะ ธัมมา, ธรรมที่เป็นเหตุแห่งผล ก็มี
เนวะวิปากะนะวิปากะ ธัมมะ ธัมมา, ธรรมที่ทั้งไม่เป็นผลและไม่เป็นเหตุแห่งผล ก็มี
อุปาทิน นุปาทานิยา ธัมมา, ธรรมที่ถูกยึดมั่น และเป็นที่แห่งความยึดมั่น ก็มี
อะนุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา, ธรรมที่ไม่ถูกยึดมั่น แต่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ก็มี
อะนุปาทินนานุปาทานิยาธัมมา, ธรรมที่ทั้งไม่ถูกยึดมั่นและไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ก็มี

สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา, ธรรมที่เศร้าหมองและเป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี
อะสังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา,ธรรมที่ไม่เศร้าหมองแต่เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี,
อะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกา ธัมมา, ธรรมที่ทั้งไม่เศร้าหมองและไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี
สะวิตักกะสะวิจารา ธัมมา, ธรรมที่มีวิตก คือความตรึกและมีวิจาร คือความตรอง ก็มี
อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธัมมา, ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกมีแต่วิจาร ก็มี
อวิตักกาวิจารา ธัมมา, ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ก็มี

ปีติสะหะคะตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความเอิบอิ่มใจ ก็มี
สุขะสะหะคะตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความสุขก็มี
อุเปกขาสะหะคะตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความวางเฉยก็มี
ทัสสะเนนะปะหาตัพพา ธัมมา, ธรรมที่พึงละด้วยทัศนะก็มี
ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา, ธรรมที่พึงละด้วยภาวนาก็มี
เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะปะหาตัพพา ธัมมา, ธรรมที่ละไม่ได้ทั้งด้วยทัศนะ และด้วยภาวนา ก็มี
ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา, ธรรมมีสาเหตุที่พึงละด้วยทัศนะก็มี
ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา, ธรรมมีสาเหตุที่พึงละด้วยภาวนาก็มี
เนวะ ทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพะ เหตุกา ธัมมา, ธรรมมีสาเหตุที่ละมิได้ด้วยทัศนะและมิได้ด้วยภาวนาก็มี,


อาจะยะคามิโน ธัมมา, ธรรมที่นำไปสู่การสั่งสม ก็มี
อะปะจะยะคามิโน ธัมมา, ธรรมที่นำไปสู่ความปราศจากการสั่งสม ก็มี
เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามิโน ธัมมา, ธรรมที่ไม่นำไปทั้งสู่การสั่งสม และสู่ความปราศจากการสั่งสมก็มี,

เสกขา ธัมมา, ธรรมที่เป็นของอริยบุคคลผู้ยัง ต้องศึกษาอยู่ ก็มี
อะเสกขา ธัมมา, ธรรมที่เป็นของผู้บรรลุอรหัตผล ซึ่งไม่ต้องศึกษาแล้ว ก็มี,
เนวะเสกขา นาเสกขา ธัมมา, ธรรมที่ไม่เป็นทั้งของผู้ยังต้องศึกษาและผู้ไม่ต้องศึกษาก็มี

ปะริตตา ธัมมา, ธรรมที่ยังเล็กน้อย ก็มี
มะหัคคะตา ธัมมา, ธรรมที่ถึงภาวะใหญ่แล้วก็มี
อัปปะมาณา ธัมมา, ธรรมที่ประมาณมิได้ ก็มี
ปะริตตารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะที่ยังเล็กน้อยเป็นอารมณ์ ก็มี
มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะที่ถึงภาวะใหญ่แล้วเป็นอารมณ์ก็มี
อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะอันประมาณมิได้เป็นอารมณ์ ก็มี
หีนา ธัมมา, ธรรมอย่างทราม ก็มี
มัชฌิมา ธัมมา, ธรรมอย่างกลาง ก็มี
ปะณีตา ธัมมา, ธรรมอย่างประณีต ก็มี
มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา, ธรรมที่แน่นอน ฝ่ายผิดก็มี
สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา, ธรรมที่แน่นอนฝ่ายถูก ก็มี
อะนิยะตา ธัมมา, ธรรมที่ไม่แน่นอน ก็มี
มัคคารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ก็มี
มัคคะเหตุกา ธัมมา, ธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ ก็มี
มัคคาธิปะติโน ธัมมา, ธรรมที่มีมรรคเป็นประธานก็มี

อุปปันนา ธัมมา, ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ก็มี
อะนุปปันนา ธัมมา, ธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้น ก็มี
อุปปาทิโน ธัมมา, ธรรมที่จักเกิดขึ้น ก็มี
อะตีตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นอดีต ก็มี
อะนาคะตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นอนาคต ก็มี
ปัจจุปปันนา ธัมมา, ธรรมที่เป็นปัจจุบันก็มี
อะตีตา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีอดีตเป็นอารมณ์ก็มี
อะนาคะตารัมมะณา ธัมมา,ธรรมที่มีอนาคตเป็นอารมณ์ก็มี
ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีปัจจุบันเป็นารมณ์ก็มี
อัชฌัตตา ธัมมา, ธรรมภายใน ก็มี
พะหิทธา ธัมมา, ธรรมภายนอก ก็มี
อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา, ธรรมทั้งภายในและภายนอกก็มี
อัชฌัตตา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะภายในเป็นอารมณ์ ก็มี
พะหิทธา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะภายนอกเป็นอารมณ์ ก็มี
อัชฌัตตะพะหิทธา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะทั้งภายในและภายนอกเป็นอารมณ์ก็มี

สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา, ธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ ก็มี
อะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา, ธรรมที่เห็นไม่ได้ แต่กระทบได้ก็มี,
อะนิทัสสะนาป ปะฏิฆา ธัมมา, ธรรมทั้งที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ ก็มี.
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0


เมื่อก่อน เข้าใจว่า รูปนาม มันเกิด และดับเสื่อมไป

  แต่ในที่สุด ก็รู้ว่า ไม่ใช่รูปนามเกิด และเสื่อมไป

  มีแต่ สภาวะ ธรรม เท่านั้น ที่เกิด มีแต่ สภาวะธรรม เท่านั้น ที่ดับ ( เสื่อมไป )
  สภาวะ ที่เรียกว่า เรา ก็ไม่มี เพราะรูปไม่มี มีแต่นาม นามบัญญัติ ก็ไม่มีมี มีแต่ นาม
 
  เมื่อ นาม ( คือ ชื่อ เอาง่าย ๆ อย่างนี้ ไม่ต้องรู้อะไรมากอีกแล้ว เพราะ นาม ที่เป็น บัญญัต เป็นได้สาระพัด แล้ว แต่จะ บัญญัติ กันขึ้นมา แต่ นาม ๆ แท้ นั้น มันอยู่ใต้สภาวะ เกิด และ ดับ ไปนั่นเอง ) 

  เมื่อจิตถึงสภาวะ นี้ การพิจารณา 36 รอบ จึงเข้าใจ อย่างถาวรว่า

    "  สิ่งใด สิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา "

  เมื่อ นาม ถึง  "  สิ่งใด สิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา "  72 รอบ จึงเข้าใจ อย่างถาวรว่า

   นาม นี้ ไม่ต่ำกว่า นามอื่น
   นาม นี้ ไม่สูงกว่า นาม อื่น
   นามนี้ ไม่ เสมอกับ นามอื่น
   เหตุเพราะ ความสูง ความต่ำ ความเสมอ ไม่มี เพราะ นามนั้น เริ่มต้น แบบเดียวกัน พัฒนาการ ต่างกัน และ ดับเร็วช้า ไม่เท่ากัน จึงไม่สามารถบอกได้ว่า สูง หรือ ต่ำ หรือ เสมอกัน

    " สิ่งที่สูงกว่า ก็ไม่มี สิ่งที่ ต่ำกว่า ก็ไม่มี แม้ สิ่งที่เสมอกัน ก็ไม่มี มีแต่เพียง สิ่งเดียว ที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมไป นั่นเอง "

  เมื่อ นาม ถึง การพ้นจาก สูง หรือ ต่ำ หรือ เสมอกัน 648 รอบ จึงเข้าใจอย่างถาวรว่า

    นามนี้ มีที่อาศัย คือ รูป นาม นี้มีความแปรปรวน ที่รูป นามนี้ มีความเสื่อมไปที่ รูป 1944 รอบ จึงเข้าใจอย่างถาวร ว่า

   "รูปเป็นเพียงบ้านอาศัย รูปเป็นเพียงธาตุ รูปเป็นเพียงอุปาทายรูป รูปเป็นเพียงธรรมธาตุ นามอาศัยรูป ฉันใด นามก็มีบ้านอยู่ เมื่อเราอยู่อาศัยบ้าน ภาระของบ้านคือรูป ยอ่มเป็นภาระของนาม ดังนั้นเมื่อไม่อยากเป็นภาระ ก็จงออกจากบ้าน คือไม่รับภาระต่อไป รูปก็เพียงบ้านอาศัย เป็นเพียงธาตุ อุปาทายรู และธรรมธาตุ เช่นนั้นนั่นเอง"

  เมื่อ นาม ไม่อาศัยรูป ปัญญาย่อมรู้แจ้ง แทงตลอด ทั้งหมด 97200 รอบ จึงพ้นจากสภาวะ นาม ย่อมรู้ว่า

 " เรารู้แจ้งแล้ว พรมหจรรย์ อยู่จบแล้ว กิจอื่นอีกในศาสนานี้ ไม่มีอีกต่อไปแล้ว เราถึงแล้วถึงเส้นชัย ตามพระสุคตเจ้า ตาเราเห็นแล้ว ซึ่งอมตะธรรม เราไปแล้ว และจะไม่กลับมาอีก "

   พระพุทธเจ้า ปรากฏ อนุพุทธ ปรากฏ ลัญจกร ปรากฏ สิ่งที่เห็น พ้นจากรูป พ้นจากสภาวะอารมณ์ มีแต่เพียงเพียงความรอบรู้ นั้น เท่านั้น ที่มองเห็นว่า รูป นาม เกิดจาก ความไม่รู้ และ ความไม่รู้ ก็ไม่สิ้นสุด ถ้าจะสิ้นสุด ต้องเข้าไปรู้ นั่นเอง


   เอวัง ก็มี ด้วยประการฉะนี้


 
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ตามที่ท่านทั้งหลาย ขอมา ฉันได้รื้อบันทึกตอนนี้ออกมาให้อ่าน แต่ไม่เต็มทั้่งบันทึกนะ เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ใครอ่านเข้าใจก็อนุโมทนา ใครอ่านไม่เข้าใจ ก็ขอให้ ภาวนาให้มากขึ้น ทำจิตให้เป็นสมาธิ ให้มากขึ้น ก็จะเข้าใจได้เอง เพราะธรรม ที่เป็น สภาวะธรรม ปรากฏตามลำดับ ไม่ข้ามลำดับ แต่ลำดับนั้น จะช้า จะเร็ว อยู่ที่ความคล่องแคล่ว ของผู้ภาวนา นั่นเอง


   กาย ใน ภาย
   เวทนา ใน เวทนา
   จิต ใน จิต
   ธรรม ใน ธรรม

   เห็น ความ เกิดขึ้น และ ความเสื่อมไป ในภายนอก
   เห็น ธรรม คือ ความเกิดขึ้น และ ธรรม คือ ความเสื่อมไป ในภายใน
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

SRIYA

  • กำลังแหวกกระแส
  • **
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 199
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2015, 10:13:45 am »
0
จะอนุโมทนา แต่ ก็อ่านไม่เข้าใจ
  :73: thk56
บันทึกการเข้า
อยากให้ทุกชีวิต มีความอบอุ่น

Akira

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 653
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2015, 10:14:49 am »
0
 st11 st12 st12
บันทึกการเข้า
เครดิต ยายกบ มาศึกษาธรรมะจ้า แก๊งค์ อ๊บ อ๊บ

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2015, 11:02:00 am »
0

ขออนุโมทนาสาธุ ครับ ครูบาอาจารย์
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2015, 12:39:16 pm »
0
สภาวะ 1, ธรรม 1 เป็นคำกล่าวที่เป็นไวพจน์แก่กัน เรียกรวมกล่าวนั้นว่า สภาวะธรรม ไม่แยกกล่าวว่า "รูป" ไม่แยกกล่าวว่า "นาม" เพราะ รูป-นาม รวมกล่าวไว้เพียงว่า "สภาวะ" สภาวะที่มีปกติเกิด (เป็น 1) สภาวะที่มีปกติดับ (เป็น 0) เมื่อแยกกล่าว รูป คือ ธาตุ, นาม คือ บัญญัติ เมื่อไม่คงรูป เราเขาไม่มี เมื่อไม่คงนาม บัญญัตินั้นก็ไม่มี จึงสรุปได้อย่างนี้ว่า รูป-นาม ล้วนไม่มี จิตไม่มีที่ตั้งในรูปนั้น 1 จิตไม่มีที่ตั้งในนามนั้น 1 รูป-นาม นั้น มาแต่ไหน เราเขา (กู,มึง,เอ็ง,นาย,ไพร่) นั้นจึงไม่มี (นั่น,นี่,โน่น,โน้น) ก็ไม่มีด้วยเช่นกัน ผมเข้าใจอย่างนี้ พิจารณาได้อย่างนี้ ....... กราบนมัสการ!

            
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 15, 2015, 12:44:07 pm โดย ธุลีธวัช (chai173) »
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

saichol

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 247
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2015, 10:57:37 pm »
0
ลึกซึ้งมาก รู้สึก ว่า บทความพระอาจารย์ เริ่มอ่านยากมากขึ้นแล้ว ถ้าไม่ภาวนาตามมาด้วย ยากแก่การเข้าใจ

  thk56
บันทึกการเข้า

บุญเอก

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +2/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 516
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: พฤษภาคม 16, 2015, 12:24:18 am »
0
รู้สึกเริ่มหนักขึ้น แต่ พอจับประเด็นได้อยู่ ครับ

 คือ สื่อ เรื่อง นาม รูป นามรูป สภาวะธรรม

 st12 st12 st12
บันทึกการเข้า
ทำงานอาสา หวังช่วยคนตกยาก แม้จะลำบาก แต่ก็จะทำโดยความไม่หนักใจ
อาสากตัญญู พัทยา ยินดีรับใช้

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: พฤษภาคม 16, 2015, 03:57:39 pm »
0
จะว่า ยาก ก็ไม่ยาก หรอกนะ เพราะว่า ถ้าผู้ปฏิบัติ มีการภาวนา ตามกันมา มันก็เข้าใจ อันนี้ใช้ศัพท์ อย่างธรรมดา พอไปลึก ๆ แล้ว พระอาจารย์ อาจจะยกแค่ศัพท์ และไม่อธิบาย ด้วย

  ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #11 เมื่อ: พฤษภาคม 16, 2015, 04:36:57 pm »
0
สำหรับ การตรวจ กิเลส นั้น มีลำดับ ของพระพุทธเจ้า ใช้เวลา 49 วัน พระองค์จึงจักแน่ใจ ใน วิมุตติ เพราะได้เสวย วิมุตติ 7 สัปดาห์

  สำหรับ พระอริยะสาวก นั้นก็ใช้เวลามากกว่า แต่ไม่เร็วกว่าพระพุทธเจ้า ในการเสวย วิมุตติ ส่วนใหญ่ ใช้เวลา 6 เดือน ในการเสวยวิมุตติ

   พระโสดาบัน 22 วัน   72 รอบ มีหลักธรรม อยู่ ในการตรวจสอบ แต่ไม่กล่าวในที่นี้
   พระสกทาคามี  60 วัน  648 รอบ
   พระอานาคามี  80 วัน   1944 รอบ
   พระอรหันต์ ใช้เวลา อีก  120 วัน   97200 รอบ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 17, 2015, 07:05:39 am โดย ธัมมะวังโส »
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ลอก กระพี้ เจอ เปือก
ถาก เปึอก เจอ เนื้อขาว
ปอกเนื้อขาว ก็เจอเนื้อแห้ง
ลอก เนื้อแห้ง ถึงจะเจอแก่น
แต่ ปัญหา แท้ ๆ  มันอยู่ที่เนื้อแห้ง นั้นมันมีความหนามาก
  จึงใช้เวลา อีกยาวนาน และ ใช้เวลามาก ในการใช้งาน
เพราะ แก่นไม้ต้องอาศัยเนื้อแห้ง ถึง จะใช้งานได้
  ใช้แต่ แก่น ก็ เปราะ
  ใช้แต่ เนื้อแห้ง ก็อ่อนโค้ง
ช่างไม้ผู้ฉลาด เมื่อจะกลึง ไม้ เพื่อใช้งาน ย่อมไม่เลือกแต่ แก่นไม้
เขาใช้ กระพี้ เป็นปุ่ย
ใช้ เปลือก เป็นฟืน
ใช้เนื้อขาว เป็นถ่าน
และใช้เนื้อแห่งกับ แก่น เป็น รูปลักษณะ ต่าง ๆ ตามปรารถนา
 มีผู้ถามเขาว่า ทำไมจึงไม่ใช้แต่แก่นไม้
เขาตอบว่า ไม้ต้นหนึ่ง มีแก่นเพียงนิดเดียว ใช้เวลาสั่งสมก็ยาวนาน
เราค้นหา ไม้ที่เป็นแก่นดี ทั้งชนิด เนื้ออ่อน เนื้อปานกลาง และเนื้อแข็ง
เราจำแนกไม้ที่เนื้อไม้ ไม่ใช่ จำแนกไม้ ที่แก่นไม้
ช่างไม้ที่ฉลาด ย่อมใช้ทุกสัดส่วน แห่ง ต้นไม้นั้น ในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์
เราใช้ผงไม้ ผสมยางไม้ อุดรู และร่องไม้ ทำไม้นั้นให้มีผิวที่เสมอกัน

     ฉันใด ก็ฉันนั้น บัณฑิต ผู้หวังธรรมในเบื้องสูง ก็พึงฉลาดในการใช้ วัตถุ ในการปฏิบัติภาวนาเช่นกัน
วัตถุในการภาวนานั้น ประกอบด้วย รูป ( คือ กาย ) นาม ( คือ ใจ ) กำเนิดและดับ ( คือ วิญญาณ )
ใช้ รูป ทั้ง ภายใน และ ภายนอก เห็น ความเกิดขึ้น และ ความเสื่อมไป ทั้งภายใน และ ภายนอก
    รูป มีความแปรปรวน ไม่อยู่แน่นอน ตามความเสื่อม ไม่มีวินาทีไหน  ที่ไม่เสื่อม
    รูป นี้ประกอบด้วย ธาตุ ต่าง ๆ และ ธาตุ ต่าง ๆ นั้น ก็ย่อมส่งผลให้ ธาตุ ที่รวมกันอยู่นั้น ไม่สะอาด
    รูป นี้ไม่มีตัวตน เป็นเจ้าของ มีแต่ สภาวะ เกิด ดับ เป็นเจ้าของ ไม่ ชรา พยาธิ และ ความตาย เป็นเจ้าของ
    เห็น รูป ก็คือ เห็น นาม เห็น นาม ก็คือ เห็น วิญญาณ
    เมื่อ รู้แจ้ง รูป ก็จะรู้แจ้ง นาม เมื่อรู้แจ้ง นาม ก็จะรู้แจ้ง วิญญาณ เมื่อใดรู้แจ้ง วิญญาณ เมื่อนั้น ก็จะยุติ การเกิด และ ดับ ได้ นั่นเอง

    ตาม สภาวะ  ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
โสดาปัตติมรรค และ โสดาปัตติผล เป็น พระโสดาบัน
« ตอบกลับ #13 เมื่อ: พฤษภาคม 17, 2015, 11:05:12 am »
0
ทำไม พระโสดาบัน ใช้เวลา 22 วัน ในปัจจุบัน

เว้นแต่ พระโสดาบัน ที่พระพุทธเจ้า พยากรณ์ หรือ รับรอง อันนั้นคือ ฉับพลัน
สมัยก่อน ก็เริ่มอย่างนี้แหละ เป็นพระโสดาบัน แบบฉับพลัน ไม่ต้องผ่านหลักธรรม แต่อาศัยวิมุตติ ทันที อันนั้นคือพระโสดาบันที่ประกอบด้วยบารมีธรรม พร้อมจะเป็นพระอรหันต์ แต่ด้วยทั่วไปก็แบบนี้
 
  พระโสดาบัน 22 วัน   72 รอบ มีหลักธรรม ลำดับแห่ง ปรากฏการณ์ วิมุตตายตนะ สำหรับพระโสดาบัน
         โสดาปัตติมรรค ( ปฐมมรรค )
          ( 4 อริยะสัจจะ  x 3 ปริวัฏฏ์ ) x 6 วัน = 72 รอบ ของ ธรรม
          ( 1 วิปัสนาญาณ  x 16 วัน ) = 16 ( 6 วัน + 16 วัน = 22 วัน )
         โสดาปัตติผล ( ปริสุทธิธรรม , ธรรมจักษุ ,ปฐมผล )
         ตรวจสอบ กิเลสที่ดับได้แล้ว 6 วันแรก  ญาณ 3     
         ตรวจสอบ กิเลสที่ดับได้แล้ว 9 วันถัดมา  ญาณ 10     
         ตรวจสอบ กิเลสที่ดับได้แล้ว 6 วันสุดท้าย  ญาณ 6
          สำเร็จเป็นพระโสดาบัน ไม่มีการกลับไปเป็น ปุถุชนอีกต่อไป อธิษฐานบารมี 3 ประเภท
          1 วันสุดท้าย เข้า ผล สมาบัติ ตามอำนาจธรรมที่ตัดกิเลส ไม่เป็น ฌาน ถึงแม้ ฝ่ายเจโตวิมุตติ ก็ไม่เข้า ฌาน เป็นไปโดยธรรมชาติ ของพระอริยะที่ต้อง เข้าผลสมาบัติ หลังจากได้ พระโสดาปัตติผล 
       
   ( ตามที่ท่านขอมา 72 คือ อะไร )

   ลำดับอื่น  ๆ ที่เหลือ นั้น คงไม่ได้บอก ท่าน นะ ( ต้องเอาไว้สอนศิษย์ โดยตรง เท่านั้น )
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 17, 2015, 09:39:25 pm โดย ธัมมะวังโส »
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0
ฝึกภาวนา ไม่ใช่การฝึก พลังจิต วัตถุประสงค์ผิด มันก็ผิดตั้งแต่ตั้งต้น
  หลาย ๆ ท่าน มักเอาเรื่องการภาวนา สรุปไปว่า เป็นการฝึกพลังจิต ให้พลังจิต มีความเข้มแข็ง เพื่อต่อสู้โลกธรรมได้ การที่หลายท่านระบุอย่างนี้ ทำให้เป้าหมายการภาวนา คลาดเคลื่อน ทำให้ภพชาติ ต่อไปเพิ่มขึ้น ดังนั้นที่ท่านมีความคิดอย่างนี้ และพูดกระทำอย่างนี้ จึงไม่สามารถบรรลุธรรม เพราะถูกปิดประตู อมตบท ด้วยการปรามาสพระธรรม ( คลายความสงสัยเรื่อง ปรามาสพระธรรม )

   พระธรรม ของพระพุทธเจ้า ไม่ได้มีไว้เพื่อ ภูมิคุ้มกันโลกธรรม หรือ เพื่ออยู่ในโลก เป้าหมายแท้จริงของพระธรรมก็คือการบรรลุเป็นพระอรหันต์ หมายถึงการเป็นอยู่เหนือโลก ( ไม่กลับมาเกิด , ไม่ยุ่งกับโลก , ไม่อาลัยในโลก ) ดังนั้นการภาวนาในสายกรรมฐาน ไม่ใช่เป็นการฝึกพลังจิตเพื่อไปอยู่ในโลก แต่เป็นการฝึกภาวนา เพื่อพ้นจากโลก นั่นเอง

   ดังนั้นถ้าท่านตั้งเป้าหมาย ว่าฝึกกรรมฐาน เพื่อฝึกพลังจิต ให้จิตแกร่งขึ้นนั้น ถ้ามีดำริอย่างนี้ จัดเป็น มิจฉาสังกัปปะ นะ ( ที่ท่านบอกว่า สมบูรณ์ ด้วย มรรคมีองค์ 8 มันไม่สมบูรณ์ ) นั่นหมายความ สัมมาทิฏฐิ ของท่านก็มีปัญหา ด้วย อาจจะเป็น มิจฉาทิฏฐิ อยู่ด้วยเช่นกัน
   
    อันนี้จะทราบได้ เมื่อเข้าเจริญ มัชฌิมา แบบลำดับ ถ้าไม่ได้เจริญ มัชฌิมา แบบลำดับ ก็จะไม่รู้ตัวเลยว่า ผิดพลาดอยู่ทั้ง ๆ ที่ตนเอง ก็มีความปรารถรนา สิ้นภพสิ้นชาติ ในปัจจุบัน พยายามกระทำภาวนาเพื่อการไม่กลับมาเกิด แต่ผลการภาวนาก็ไม่ปรากฏผล ก็เพราะว่า ปรามาส พระธรรม ด้วย อย่างนี้

    เริ่มซับซ้อนแล้วสินะ เนื่องด้วยในหัวข้อนี้ ฉันพยายามจะบอกใบ้ลูกศิษย์ ในขอบเขตน์ ที่ได้รับอนุญาตไว้ เพื่อให้แต่ละคนรู้ตัว รู้ตน รู้ ปฐมมรรค กันเสียที เวลาฉันอาจจะไม่มีมากอย่างที่เคยบอก เพราะเหตุปัจจัย ความเป็นครูอาจารย์นั้นมันมาก การเมตตาต่อศิษย์ แต่ละคนดึงพลังอายุขัยไปกันมากขึ้น ยิ่งมีศิษย์มาก ความต้องการให้เธอทั้งสะดวกสะบาย ต่อการภาวนาให้พ้นทุกข์ มันก็มีมากขึ้น เหมือนไฟตะเกียง ช่วงสุดท้ายที่โหมไฟแรงขึ้นในขณะที่เชื้อเพลิงใกล้หมด มันก็หมดไวขึ้น เป็นธรรมดา อย่างนั้นนั่นเอง

   อ่านไม่เข้าใจ ก็กลับไปอ่านตั้งแต่เริ่มต้น อ่านให้เข้าใจ ด้วยการภาวนาด้วย ไม่ใช่เอาแต่อ่าน อย่างเดียว ถ้าไม่ภาวนามาเลย อ่านสิบรอบก็ไม่เข้าใจ

    ;)
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

PRAMOTE(aaaa)

  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 3598
  • ความศรัทธาคือเชื่อเรื่องการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #15 เมื่อ: พฤษภาคม 17, 2015, 10:36:31 pm »
0
 st11 st12 thk56 gd1
ขออนุโมทนาสาธุ ครับ
บันทึกการเข้า
การมีกัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์ ที่สั่งสอนธรรม เป็นเรื่องที่ดี
..เชื่อเรื่องการตรัสรู้ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...และเชื่อในพระธรรมที่เป็นตัวแทนของพระศาสดา

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
0


รู้ ที่ควร หยุด รู้ เพราะ รู้ มาก ก็เรื่อง มาก คนเราที่ทุกข์ เพราะรู้บัญญัติมาก


" บางครั้ง คนเรา ก็ทุกข์ เพราะเขาไปรู้ ฉันนั่งอยู่ที่อาศรม วันนี้ เพื่อนของฉัน ที่ร่วมปฏิบัติธรรมด้วย กัน อย่างมีความสุข มาหลายเดือน อารมณ์ท่านดีมาก สนุกสนาน แม้อยู่ป่า ไม่มีไฟฟ้า น้ำประปา ไม่มีรายได้ใด มีเพียงโยมใส่บาตร ให้พอฉันกันหนึ่ง มื้อ สี่ห้าบ้านเท่านั้น ทุกวันเราบิณฑบาตรกันอย่างเหนื่อย เพราะว่า แต่ละบ้านอยู่ในหุบเขา ทางขึ้นทางลง เป็นเขาตลอดทางต้องปีนขึ้นปีนลง จับรากไม้โหนตัวลงไปบ้าง ฝนก็ตกฉุกเสียอีก ทางภาคใต้ ก็นับว่าเพื่อนท่านนี้ ท่านมีความสุข ในการภาวนาเป็นอย่างมาก ตั้งแต่อยู่กันมาหลายเดือน จนกระทั่งวันหนึ่ง ผญบ. ได้นำจดหมายโทรเลข มาส่งยื่นให้ท่าน ตั้งแต่นั้นเราไม่เห็นรอยยิ้ม สนุกสนาน ของท่านอีกเป็นเดือน เนื่องด้วยโทรเลข มีข้อความแจ้งว่า ญาตผู้ใหญ่ ของท่านเสียชีวิต ไม่ทราบเป็น พ่อ หรือ แม่ หรือ ปู่ ย่า ตา ยาย ก็ไม่รู้ เพราะถามท่านไม่ได้ตอบ แต่ดูท่านซึมไป หลายวัน ท่านไม่ได้กลับไปร่วมงานหรอก เพราะว่า โทรเลขกว่าจะมาถึงในหุบเขาอาศรม นี้ก็ผ่านเวลาไปร่วมเจ็ดวันแล้ว เราอยู่บนเกาะ ซึ่งตอนนี้มีมรสุมเข้าไม่สามารถออกเรือ ไปแผ่นดินใหญ่ได้ สรุป สองอาทิตย์ ที่ท่านหงอยเหงา เศร้าซึมเป็นเพราะข้อความ แค่ บรรทัดเดียว ทั้งๆ ที่ทำอะไรก็ไม่ได้ นี่แหละน้า เข้าตำราเลย ว่า บางเรื่อง ไม่ต้องรู้ก็ดี บางเรื่องที่ต้อง รู้ ก็ควรฝึกจิต มองให้เห็นตามความเป็นจริงว่า มันเป็นอย่างไร จะได้ไม่ต้องมานั่งทำใจ หรือ อารมณ์ให้ผ่องใส ขึ้นมา เพราะมันอยู่ของมันดีแล้ว นั่นเอง"

  ข้อความบางส่วนจากหนังสือ เพียงหยดหนึ่งแห่งพระธรรม
  บันทึกการภาวนา และการเดินทาง ของธัมมะวังโส


 

   
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

modtanoy

  • พอพึ่งพาได้
  • ***
  • ผลบุญ: +0/-5
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 213
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #17 เมื่อ: พฤษภาคม 18, 2015, 08:54:02 pm »
0
อุตริ อะไร อีก เนี่ย

  :smiley_confused1:
บันทึกการเข้า

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #18 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 01:00:58 pm »
0


การยึดถือ อาศัยรูปบัญญัติ ใดใด เป็นผัสสะ แล้วกล่าวอ้างเป็นปัญญาภิวัฒน์นั้น เป็นการวางกรอบแนวทางให้คิดอย่างหลงผิด เพราะเท่ากับคุณปฏิเสธความตาย ชีวิตคือชีวะที่ปราศจากมวลพลังงาน หัวใจคนเต้นได้ก็ด้วยคลื่นไฟฟ้า ร่างกายคน,สัตว์ มีมวลมีคลื่นพลังงานขับเคลื่อน มวลพลังงานคือจิต จิตที่มีกระแสของคลื่นที่วัดได้เป็นหน่วยพลังงาน ความตายมีผลให้ร่างกายนั้นกลายสภาพเป็นธาตุคงเดิมมวลชีวะสลาย แต่คลื่นพลังงานมีการสั่งสมแปรเปลี่ยนขับเคลื่อนจุติ ความตายจึงไม่สิ้นสุด การห่ามปฏิเสธมิตินอกเหนือความตายแล้วสรรตามแต่จริตตนว่า สิ่งนี้ไม่พึงมี สิ่งนี้พึงมี นี้เป็นมานะฉกาจ ขลาดฉกรรจ์ ปัญญาภิวัฒน์หาใช่ แต่เป็นปัญญาวิบัติ ท่านท่านที่กระทู้มาเป็นเสียเช่นนี้มาก มือไม่พาย เอาเท้าราน้ำ ตามสุภาษิต ถ้าเยื่องอย่างนี้ เผานั่งยางตัวเองเห็นชัดเจนเลย
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา

kobyamkala

  • โยคาวจรผล
  • ******
  • ผลบุญ: +5/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: หญิง
  • กระทู้: 2236
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #19 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 01:45:16 pm »
0


การยึดถือ อาศัยรูปบัญญัติ ใดใด เป็นผัสสะ แล้วกล่าวอ้างเป็นปัญญาภิวัฒน์นั้น เป็นการวางกรอบแนวทางให้คิดอย่างหลงผิด เพราะเท่ากับคุณปฏิเสธความตาย ชีวิตคือชีวะที่ปราศจากมวลพลังงาน หัวใจคนเต้นได้ก็ด้วยคลื่นไฟฟ้า ร่างกายคน,สัตว์ มีมวลมีคลื่นพลังงานขับเคลื่อน มวลพลังงานคือจิต จิตที่มีกระแสของคลื่นที่วัดได้เป็นหน่วยพลังงาน ความตายมีผลให้ร่างกายนั้นกลายสภาพเป็นธาตุคงเดิมมวลชีวะสลาย แต่คลื่นพลังงานมีการสั่งสมแปรเปลี่ยนขับเคลื่อนจุติ ความตายจึงไม่สิ้นสุด การห่ามปฏิเสธมิตินอกเหนือความตายแล้วสรรตามแต่จริตตนว่า สิ่งนี้ไม่พึงมี สิ่งนี้พึงมี นี้เป็นมานะฉกาจ ขลาดฉกรรจ์ ปัญญาภิวัฒน์หาใช่ แต่เป็นปัญญาวิบัติ ท่านท่านที่กระทู้มาเป็นเสียเช่นนี้มาก มือไม่พาย เอาเท้าราน้ำ ตามสุภาษิต ถ้าเยื่องอย่างนี้ เผานั่งยางตัวเองเห็นชัดเจนเลย

 ไม่เข้าใจ ที่เขียนเลย อ่านยากกว่าของพระอาจารย์ อีก สรุปแล้ว คือ อย่างไรคะ
 ประเด็น ก็คือ กาล พัฒนา มนุษย์ สัตว์ เทวดา พรหม ด้วย ความรู้ใช้ หรือ ไม่คะ

   อย่างไร อ่าแล้ว งง ไม่ทราบว่า ข้อความเห็นด้วย หรือ ขัดแย้ง กับ พระอาจารย์

  :41: :smiley_confused1: thk56
บันทึกการเข้า
แล้วลองแอบมาแย้มกะลา
เพื่อดูโลก เห็นแล้วตกใจโลกนี้กว้างใหญ่จริง ๆ

Hero

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 557
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #20 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 02:09:46 pm »
0
ข้อความสำคัญ น่าจะอยู่ที่ เรื่องการเป็นพระอริยะบุคคล ด้วย มัชฌิมา แบบลำดับ นะครับ เท่าที่อ่านดู เหมือนจะมีขั้นตอน ชัดเจนในการเดินจิต ที่เรียกว่า ปฐมมรรค ปฐมผล นะครับ ถ้าส่วนนี้ ผมว่า สำคัญมาก ตวรจะได้เรียน ถ้าผมเข้าใจถูกต้อง
    st11 st12 st12
บันทึกการเข้า
ทำไมต้องมีอินทรีแดง เพราะสังคมเราบางครั้งก็ตาบอด
ปล่อยให้คนดี เดือดร้อน ดังนั้นจึงต้องมีผู้ปกป้องคนดี
hero ไม่ได้มีแต่ในหนังเท่านั้น นะครับ

ธัมมะวังโส

  • ธัมมะวังโส
  • ผู้บริหารเว็บ
  • โยคาวจรผล
  • ********
  • ผลบุญ: +180/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 7250
  • Respect: +6
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #21 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 02:34:00 pm »
0
 ask1
หัวข้อ ที่ modtanoy ส่งมาหลังไมค์ เพือ่ให้ชี้แจง เรื่อง
   พระสกทาคามี  60 วัน  648 รอบ
   พระอานาคามี  80 วัน   1944 รอบ
   พระอรหันต์ ใช้เวลา อีก  120 วัน   97200 รอบ

  ว่ามีอะไร บ้าง เพื่อจะได้คลายความข้องใจ

  ans1 ก็ขอตอบว่า
    คงตอบให้ไม่ได้ นะจ๊ะ ส่วนความข้องใจ ของ เธอ ซึ่งไม่ใช่ศิษย์ ไม่ได้เป็นภาระ ของฉัน นะจ๊ะ
    ไม่เป็นความลับ หรอกนะจ๊ะ แต่ สอนให้เฉพาะศิษย์ เท่านั้น
    อีกอย่าง พระที่อตุริ ( ในสายตาและความคิด ของ คุณ ) คงไม่มีอะไร ไปตอบ ให้เป็นที่พอใจนะ
 
  เจริญพร คงจะเข้าใจนะ

 

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 19, 2015, 03:04:38 pm โดย ธัมมะวังโส »
บันทึกการเข้า
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

Hero

  • โยคาวจรมรรค
  • *****
  • ผลบุญ: +0/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้: 557
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #22 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 03:07:48 pm »
0
โห คุณ modtanoy  นี่เขาเรียกว่า กลยุธท์ ลักเรียน เลย นะครับ ไม่เชือ ไม่ศรัทธา แต่ ต้องการรู้ข้อมูล ทางวิชาด้วย เอาไปทำไมครับ ไม่เข้าใจ

     :85: :85: :85:
บันทึกการเข้า
ทำไมต้องมีอินทรีแดง เพราะสังคมเราบางครั้งก็ตาบอด
ปล่อยให้คนดี เดือดร้อน ดังนั้นจึงต้องมีผู้ปกป้องคนดี
hero ไม่ได้มีแต่ในหนังเท่านั้น นะครับ

ธุลีธวัช (chai173)

  • ปัญญา นัตถิ อฌายโต “ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่พินิจ”
  • ศิษย์ตรง
  • โยคาวจรผล
  • *****
  • ผลบุญ: +35/-0
  • ออฟไลน์ ออฟไลน์
  • กระทู้: 2905
  • Respect: +2
    • ดูรายละเอียด
    • เว็บไซต์
Re: หยุดกาล ด้วยกรรมฐาน เพื่อทำให้จิต ให้รอบรู้
« ตอบกลับ #23 เมื่อ: พฤษภาคม 19, 2015, 03:30:28 pm »
0
ไม่เข้าใจ ที่เขียนเลย อ่านยากกว่าของพระอาจารย์ อีก สรุปแล้ว คือ อย่างไรคะ   ประเด็น ก็คือ กาล พัฒนา มนุษย์ สัตว์ เทวดา พรหม ด้วยความรู้ ใช่ หรือ ไม่คะ

 อย่างไร อ่านแล้ว งง ไม่ทราบว่า ข้อความเห็นด้วย หรือ ขัดแย้ง กับ พระอาจารย์



น้องกบ งง! ใหญ่เลยหรือนี่ อยากจะอธิบายนะ ทำอย่างไรดี เอาเป็นว่าอรรถธรรมที่พระอาจารย์ลงไว้ให้ทุกคนที่เปิดหน้าเว็บเห็นข้อกระทู้โอกาสที่ได้อ่านดูแล้วคงถ้วน แต่จะเข้าใจถ้วนเสมอกันเป็นไปไม่ได้แน่ ผมเคยบวชเรียนศึกษาปริยัติบาลีคุ้นกับศัพท์คำและความหมาย ซึ่งต้องกล่าวว่าได้เปรียบที่ศึกษาสั่งสมมากว่าค่อนชีวิต ธรรมสดับตามอ่านก็ให้เข้าใจในระดับหนึ่ง ใจ ณ เวลานี้ทรงตัวเสมือนไม้หน้าสามหวดสลบ แม้ช่วงเวลานี้จิตจะตก เครียดไปบ้าง ศรัทธาคลอน ปรามาสไปบ้าง แต่ด้วยจริตเดิมเป็นคนโทสะแรงประสบเจอกับสิ่งที่ไม่สมประสงค์จะตอบโต้แรง (ไม่สวดมนต์, ไม่ถวายน้ำพระ/เจ้าที่, อรรถข้อธรรมวิจารณ์แรง, พระไม่คล้อง, พุท-โธ ไม่เอา .... เหนื่อยล้า วางทั้งหมด) แต่เมื่อใจมันวางทั้งหมดของเก่าเก็บมันยังมีตกค้างให้ได้คิดพินิจเห็นเข้าใจอรรถธรรมอยู่บ้าง ใจมันเมื่อคว้าง เก่ามียังควานเจอ ครับ! ทั้งหมดทั้งมวลที่พิมพ์คีย์สาธยายเป็นไปตามความเข้าใจที่มีทั้งพยายามอธิบาย งง! กันได้เพราะเข้าใจไปตามภูมิเฉพาะตน จะอย่างไรตามอ่านทำความเข้าใจกับข้อกระทู้พระอาจารย์ให้มากเข้าไว้ ผมอ่านเข้าใจพิมพ์คีย์ไปตามภูมิที่มีอย่าเอาเป็นข้ออ้างอิงผมเพียงแค่กลิ้งกลม เผลอเอาไปอ้างอิงเดี๋ยวเงิบ ลาที
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 19, 2015, 06:37:06 pm โดย ธุลีธวัช (chai173) »
บันทึกการเข้า
ศรัทธา, ศีล, พาหุสัจจะ, วิริยารัมภะ, ปัญญา